จุลินทรีย์หอมคาซาม่าได้เพิ่มกลุ่มจุลินทรีย์ไนตริฟลายอิ้งลดค่า TKN แอมโมเนีย ไนเตรท ไนไตรท์ โดยเฉพาะ ((( ที่นี่..ขายจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย/จำหน่ายจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย ))) จุลินทรีย์หอมคาซาม่า จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียที่มีกลิ่นหอม ใช้บำบัดน้ำเสียได้ทุกๆระบบ ใช้บำบัดน้ำเสียได้ประโยชน์ทั้งการบำบัดน้ำเสียและการดับกลิ่นในเวลาเดียวกันทันที
ReadyPlanet.com
ขายจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย/จำหน่ายจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย

         

จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย ( จุลินทรีย์ที่มีประโยชนชน์ในการย่อยสลายของเสีย ) คือสิ่งที่สำคัญมากที่สุดในกระบวนการบำบัดน้ำเสียและในระบบบำบัดน้ำเสียทุกๆระบบ เป็นตัวจักรที่สำคัญและมีบทบาทมากที่สุดในการบำบัดน้ำเสียจากทุกๆแหล่งและทุกๆระบบบำบัด              

เพิ่มและเสริมประสิทธิภาพการบำบัดน้ำเสียและระบบบำบัดน้ำเสียให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โดยการเพิ่มปริมาณของจุลินทรีย์ย่อยสลายของเสียในระบบบำบัดน้ำเสียทุกๆระบบด้วยจุลินทรีย์หอมคาซาม่า จุลินทรีย์ย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียที่มีกลิ่นหอมเข้มข้นสูงไม่เก่าเก็บ จุลินทรีย์มีความหนาแน่นและแอคทีฟสูง

จุลินทรีย์หอมคาซาม่า เป็นจุลินทรีย์สำหรับบำบัดน้ำเสียและดับกลิ่นกำจัดกลิ่นไม่พึงประสงค์ทุกๆชนิด

จุลินทรีย์หอมคาซาม่า เป็นกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายของเสีย ( บำบัดน้ำเสีย ) ชนิดที่ไม่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลาย ไม่ว่าในน้ำเสียนั้นๆจะมีออกซิเจนหรือไม่มีออกซิเจน จุลินทรีย์หอมคาซาม่าก็สามารถทำงานย่อยสลายของเสียในน้ำเสียนั้นๆได้ตามปกติ

บำบัดน้ำเสียทำไมต้องใช้จุลินทรีย์ ? จำเป็นอย่างไร?

ถ้าโลกใบนี้ไม่มีของเสียและไม่มีน้ำเสียแม้แต่นิดเดียว จุลินทรีย์กลุ่มย่อยสลายของเสียก็ไม่มีความหมายและไม่มีความจำเป็นต่อโลกใบนี้อีกต่อไป นี่คือคำตอบของคำถามที่ว่า จำเป็นอย่างไรจึงต้องบำบัดน้ำเสียด้วยจุลินทรีย์ เพราะในบรรดาของเสียทุกๆอย่างบนโลกใบนี้ ซึ่งรวมถึงน้ำเสียด้วย ต้องอาศัยจุลินทรีย์ในการบำบัดและย่อยสลายทั้งสิ้น ถ้าปราศจากซึ่งจุลินทรีย์ของเสียและน้ำเสียคงล้นโลกไปนานแล้ว ในบางกรณีอาจใช้เคมีบำบัดได้ แต่กระบวนการย่อยสลายขั้นสุดท้ายจริงๆก็หนีไม่พ้นจุลินทรีย์บำบัดอยู่ดีไม่ว่าจะใช้ระบบบำบัดแบบใดก็ตาม

บำบัดน้ำเสียอย่างไรให้ได้ผลดี ?

ในการบำบัดน้ำเสียให้ได้ผลดีนั้นต้องทำให้ถึง ทั้งการเติมจุลินทรีย์ให้กับระบบบำบัดต้องไม่น้อยหรือต้องมากกว่าปริมาณของเสียที่เกิดขึ้นจริงจึงจะได้ผลดีระบบจึงจะมีประสิทธิภาพ และต้องมีความต่อเนื่อง ( เติมจุลินทรีย์อย่างต่อเนื่องเมื่อปริมาณจุลินทรีย์ลดลง ) จะมีจุลินทรีย์บางส่วนที่จะสลายไปตามธรรมชาติ การเพิ่มปริมาณจุลินทรีย์อยู่เรื่อยๆเป็นสิ่งที่พึงปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง ถ้าต้องการให้ระบบบำบัดน้ำเสียสมบูรณ์และมีประสิทธิภาพในการบำบัดน้ำเสียให้ได้ดี ถ้าเป็นระบบบำบัดน้ำเสียแบบเติมอากาศก็ให้เติมอากาศอย่างต่อเนื่องเช่นกัน ซึ่งจะเป็นการเสริมประสิทธิภาพการบำบัดน้ำเสียระหว่างกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนกับกลุ่มจุลินทรีย์ที่ไม่ใช้ออกซิเจน ( จุลินทรีย์อีเอ็ม หรือ em ) 
กระบวนการบำบัดน้ำเสียด้วยจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียหรือการบำบัดน้ำเสียโดยจุลินทรีย์ย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสีย ซึ่งเป็นเรื่องปกติทั่วๆไปที่การบำบัดน้ำเสีย การย่อยสลายของเสียต่างๆบนโลกใบนี้ล้วนต้องพึ่งพาและอาศัยจุลินทรีย์ย่อยสลายทั้งสิ้น ถ้าปราศจากจุลินทรีย์ย่อยสลายแล้ว โลกใบนี้ของเสียและน้ำเสียต่างๆคงล้นโลกไปนานแล้ว การย่อยสลายของเสียต่างๆของจุลินทรีย์ย่อยสลายเป็นกระบวนการทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นตลอดเวลาในสภาวะแวดล้อมและอุณหภูมิที่เหมาะสม อย่างที่กล่าวมาแล้วว่าบรรดาของเสียทุกๆอย่างในโลกใบนี้ ซึ่งรวมถึงน้ำเสียด้วย ต้องอาศัยจุลินทรีย์ในการย่อยสลายและบำบัดทั้งสิ้น ยังไม่มีสิ่งใดมาทำหน้าที่หรือทดแทนจุลินทรีย์ในการย่อยสลายได้ในปัจจุบัน  กลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียเป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ มีทั้งประเภทใช้ออกซิเจนเป็นหลักและไม่ใช้ออกซิเจน ซึ่งมีหลากหลายกลุ่มหลากหลายสายพันธุ์ด้วยกันกระจัดกระจายอยู่ในธรรมชาติ ( ไม่ได้รวมกลุ่มกัน )ในการรวมกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียนี้จึงต้องออกแบบระบบบำบัดน้ำเสียให้เหมาะสมเป็นที่ต้องการดำรงชีพของจุลินทรีย์กลุ่มนี้ ถ้าสิ่งแวดล้อมในระบบบำบัดน้ำเสียไม่เอื้ออำนวยต่อการดำรงชีพของกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ ระบบบำบัดน้ำเสียนั้นก็จะมีปัญหาวิกฤติน้ำเสียทันที น้ำเสียที่เกิดขึ้นไม่สามารถบำบัดได้สมบูรณ์เนื่องจากขาดจุลินทรีย์ย่อยสลายหรือมีปริมาณจุลินทรีย์น้อยกว่าปริมาณของเสียที่เกิดขึ้นจริง ไม่ว่าจะใช้วิธีใดในการเติมหรือเพิ่มปริมาณจุลินทรีย์เข้าไปในระบบบำบัดน้ำเสียนั้นเป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่ง ทั้งนี้เพื่อให้น้ำเสียในบ่อบำบัดได้รับการบำบัดให้เป็นน้ำดีก่อนปล่อยทิ้งออกสู่สิ่งแวดล้อมสาธารณะต่อไป

ในการบำบัดน้ำเสียให้เป็นน้ำดีนั้นต้องอาศัยกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียเป็นหลัก ระบบบำบัดน้ำเสียทุกๆระบบ ไม่ว่าจะลงทุนมากหรือลงทุนน้อยเพียงใด วัตถุประสงค์ของการสร้างระบบบำบัดน้ำเสียขึ้นมาก็คือ ต้องการดึงกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียมาใช้งานในบ่อบำบัดเพื่อทำการย่อยสลายของเสียต่างๆนั่นเอง ของเสียต่างๆที่เจือปนอยู่ในน้ำเสียมีทั้งสารอินทรีย์และสารอินินทรีย์ และสารที่เป็นของเสียทั้งหมดในน้ำเสียนั้นๆก็จะถูกย่อยสลายโดยกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสีย ซึ่งกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียเหล่านี้มีหลากหลายสายพันธุ์ มีทั้งชนิดที่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่่อยสลายและชนิดไม่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลาย ซึ่งล้วนมีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียทั้งคู่ ถ้าปริมาณของจุลินทรีย์ย่อยสลายมีมากกว่าปริมาณของเสียและน้ำเสีย การย่อยสลายก็เกิดขึ้นได้สมบูรณ์ บรรดาของเสียและน้ำเสียก็จะถูกย่อยสลายกลายไปเป็น  CO2 + น้ำ + พลังงาน + อื่นๆ  นี้เป็นสมการจากปฏิกิริยาการย่อยสลายของจุลินทรีย์ในน้ำเสีย ซึ่งจะส่งผลให้ค่าพารามิเตอร์ต่างๆลดลง ทั้งค่า BOD , COD , TDS , SS และอื่นๆ ในขณะที่ค่า  DO เพิ่มขึ้น ( น้ำเสียค่า DO <  3 ppm.  ส่วนน้ำดีค่า DO 5-8 ppm. ) การเพิ่มปริมาณออกซิเจนลงในน้ำเสียตลอดเวลาเป็นสิ่งจำเป็น เพราะมันจะส่งผลดีต่อการเจริญเติบโตของกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้อออกซิเจนเป็นหลักในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียในระบบบำบัดน้ำเสียหรือบ่อบำบัดน้ำเสียนั้นๆ

จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียหรือจุลินทรีย์ที่ใช้ในการบำบัดน้ำเสีย

อย่างที่กล่าวมาแล้วว่า การบำบัดน้ำเสียและย่อยสลายของเสียต่างๆต้องใช้จุลินทรีย์ในการย่อยสลาย ซึ่งกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียต่างๆ ( บำบัดน้ำเสีย ) ยังจำแนกออกเป็น 2 กลุ่มดังต่อไปนี้. -

1. กลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสีย ( มีคุณสมบัติในการย่อยสลายของเสียต่างๆ ) ที่ใช้ออกซิเจนในการดำรงชีพและการเจริญเติบโตขยายเซลล์ รวมถึงการนำออกซิเจนไปใช้ในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสีย ( Aerobic  Bacteria ) จุลินทรีย์กลุ่มนี้จะขาดออกซิเจนไม่ได้ หรือออกซิเจนมีน้อยก็มีผลต่อการเจริญเติบโต ออกซิเจนและอาหารจะเป็นสิ่งจำเป็นมากสำหรับจุลินทรีย์กลุ่มนี้ ถ้าขาดออกซิเจนก็ทำงานไม่ได้และตายได้ตลอดเวลา ดังนั้น ในระบบบำบัดน้ำเสีย โดยเฉพาะระบบบำบัดน้ำเสียแบบเติมอากาศ ( Activated Sludge : AS ) จะต้องเติมอากาศออกซิเจนลงไปในน้ำเสีย เพื่อเพิ่มออกซิเจนในน้ำเสียนั้นๆให้กับจุลินทรีย์กลุ่มนี้เพื่อนำไปใช้ในการดำรงชีพเจริญเติบโต และนำไปใช้ในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียต่างๆในน้ำเสีย จุลินทรีย์กลุ่มนี้เป็นที่นิยมมากที่สุดในการนำไปใช้บำบัดน้ำเสียในทุกๆระบบบำบัดในปัจจุบัน สาเหตุเพราะสามารถดึงจากธรรมชาติมาใช้งานได้ง่าย แต่มีข้อเสียตรงที่ควบคุมยาก ต้องออกแบบระบบบำบัดและสร้างสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสมกับการดำรงชีพจุลินทรีย์กลุ่มนี้จึงจะอยู่ได้และทำงานย่อยสลายของเสียได้ดี ถ้ามีปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อจุลินทรีย์กลุ่มนี้เมื่อใด จะส่งผลให้จุลินทรีย์ในระบบบำบัดหรือในบ่อบำบัดลดลงทันทีหรืออาจตายยกบ่อบำบัดได้ตลอดเวลา เช่น ในน้ำเสียมีออกซิเจนต่ำมาก ( ค่า DO ต่ำ ) จุลินทรีย์กลุ่มนี้อาจตายยกบ่อได้หรือเหลือน้อยมาก  หรือกรณีที่ค่า pH สูงมาก หรือ ต่ำมากๆ จะส่งผลให้จุลินทรีย์กลุ่มนี้ตายยกบ่อได้ทันที นี้คือข้อจำกัดและเงื่อนไขของจุลินทรีย์กลุ่มนี้บางส่วน ซึ่งค่อนข้างอ่อนไหวต่อสภาวะแวดล้อมในระบบบำบัด  

2. กลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสีย ( มีคุณสมบัติในการย่อยสลายของเสียต่างๆ ) ที่ไม่ใช้ออกซิเจนในการดำรงชีพและการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสีย ( Anaerobic  Bacteria ) จุลินทรีย์กลุ่มนี้จะมีความเหมือนบางประการกับจุลินทรีย์กลุ่มแรกก็คือ มีคุณสมบัติในการย่อยสลายของเสียต่างๆได้เหมือนกัน  แต่จะมีความแตกต่างในเรื่องของการดำรงชีพและการทำปฏิกิริยาย่อยสลายที่ไม่ใช้ออกซิเจนเหมือนกลุ่มแรก รวมทั้งความสามารถทนกับแรงต้านทานในสภาวะแวดล้อมที่วิกฤตได้ดี ในน้ำเสียไม่มีออกซิเจนเลย หรือ ค่า pH ต่ำมากหรือสูงมาก จุลินทรีย์กลุ่มนี้ก็สามารถอยู่ได้และทำงานย่อยสลายได้ตามปกติ ซึ่งจะแตกต่างกับจุลินทรีย์กลุ่มแรก ( กลุ่มที่ใช้ออกซิเจน ) ที่ไม่สามารถต้านทานสภาวะวิกฤตได้ นี่คือความแตกต่างบางส่วนของจุลินทรีย์กลุ่มนี้กับจุลินทรีย์กลุ่มที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลัก แต่ข้อเสียหรือจุดด้อยของจุลินทรีย์กลุ่มนี้ก็คือ ดึงมาใช้งานได้ค่อนข้างยาก ไม่ค่อยรวมกันเป็นกลุ่มก้อน ในธรรมชาติควบคุมได้ยากเช่นเดียวกันกับจุลินทรีย์กลุ่มแรก ดังนั้น จึงมีผู้ที่ทำการสังเคราะห์จุลินทรีย์กลุ่มนี้ขึ้นมาไว้ในจุดเดียวกันเป็นกลุ่มก้อนปริมาณมากเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ หนึ่งในประโยชน์ที่นำไปใช้นั้นก็คือ การนำไปใช้ในการบำบัดน้ำเสียย่อยสลายของเสีย จุลินทรีย์กลุ่มนี้สังเคราะห์ขึ้นในห้องปฏิบัติการจะได้ความหนาแน่นปริมาณจุลินทรีย์มากตามที่ต้องการ ซึ่งขั้นตอนต่างๆในการสังเคราะห์รวมกลุ่มจุลินทรีย์กลุ่มนี้จะทำได้ค่อนข้างยุ่งยากกว่าจุลินทรีย์กลุ่มแรก ( ที่ใช้ออกซิเจน ) ที่สามารถดึงมาใช้งานได้ง่ายกว่ากลุ่มนี้ ( กลุ่มที่ไม่ใช้ออกซิเจน ) นี่คือ ความแตกต่างของจุลินทรีย์ย่อยสลายทั้งสองกลุ่มนี้บางส่วน

  ในกระบวนการบำบัดน้ำเสียขั้นตอนสุดท้าย จะพึ่งพาและอาศัยจุลินทรีย์ทั้งสองกลุ่มนี้ ( กลุ่มที่ใช้ออกซิเนและกลุ่มที่ไม่ใช้ออกซิเจน ) เป็นตัวแปรเปลี่ยนสถานะของสสารต่างๆ ( ของเสีย ) ที่เจือปนและปนเปื้อนอยู่ในน้ำเสียไปเป็น  =>>  น้ำ +  พลังงาน  +  CO2  ตามสมการจำลองด้านล่างนี้

     

จากสมการจำลองด้านบนจะเห็นได้ว่า  จุลินทรีย์จะเข้าทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียและแปรสถานะของเสียไปเป็น น้ำ พลังงานและก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในขั้นตอนสุดท้าย ที่สุดของที่สุดของปฏิกิริยาก็คือไม่เหลืออะไรเลย ( ว่างเปล่า ) แต่ในการย่อยสลายของเสียเหล่านี้ต้องใช้ระยะเวลาที่แตกต่างกันออกไป ของเสียที่มีขนาดเล็กๆก็จะใช้ระยะเวลาในการย่อยสลายได้รวดเร็ว แต่ถ้าเป็นของเสียที่มีขนาดใหญ่ชิ้นใหญ่ ก็จะต้องใช้เวลาในการย่อยสลายนานขึ้น อาจจะเป็นปีหรือหลายร้อยปีเหมือนการย่อยสลายจำพวกพลาสติกก็เป็นไปได้ ดังนั้น ในการบำบัดน้ำเสียที่ใช้จุลินทรีย์ในการย่อยสลายของเสียจึงต้องมีการบำบัดในขั้นต้นก่อน นั่นก็คือ การคิดแยกของเสียที่มีขนาดใหญ่ออกจากระบบบำบัดก่อน เพื่อให้เหลือเฉพาะของเสียที่มีขนาดเล็กที่จุลินทรีย์สามารถย่อยสลายได้อย่างรวดเร็ว นี่คือ กระบวนการบำบัดน้ำเสียที่ใช้จุลินทรีย์ย่อยสลายของเสีย  บรรดาของเสียต่างๆทั้งหมดบนโลกใบนี้ ล้วนต้องพึ่งพาและอาศัยจุลินทรีย์กลุ่มที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายทั้งสิ้น ไม่ว่าจะเป็นกลุ่มที่ใช้ออกซิเจนและไม่ใช้ออกซิเจนที่สามารถทำงานย่อยสลายของเสียต่างๆร่วมกันได้

  นี่คือที่มาของจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียหรือจุลินทรีย์ที่ใช้ในการบำบัดน้ำเสีย ซึ่งมีอยู่ในธรรมชาติดิน น้ำ และอากาศ แต่อยู่แบบกระจัดกระจายไม่รวมกันเป็นกลุ่มก้อน ดังนััน จึงต้องมีการออกแบบระบบและสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสม เพื่อดึงจุลินทรีย์เหล่านี้มาใช้งานในการบำบัดน้ำเสียย่อยสลายของเสียในระบบบำบัด  การบำบัดน้ำเสียและระบบบำบัดน้ำเสียจะมีประสิทธิภาพมากหรือน้อยจึงขึ้นอยู่กับจุลินทรีย์ย่อยสลายในระบบบำบัดเป็นหลัก ค่ามาตรฐานน้ำทิ้งจะผ่านเกณฑ์กำหนดหรือไม่ผ่านเกณฑ์กำหนดก็อยู่ตรงที่การควบคุมจุลินทรีย์ย่อยสลายได้ดีหรือไม่

จุลินทรีย์แบบใช้อากาศและจุลินทรีย์แบบไม่ใช้อากาศ ( Aerobic bacteria  และ Anaerobic bacteria ) ในระบบบำบัดน้ำเสียคืออะไร? 

จุลินทรีย์หรือแบคทีเรียเป็นสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กเหมือนกัน ตัวเดียวกัน ซึ่งมีทั้งกลุ่มที่มีประโยชน์ กลุ่มที่มีโทษ และกลุ่มที่เป็นกลาง ซึ่งกลุ่มที่เป็นกลางนี้เข้ากับกลุ่มใดก็ได้ทั้งหมด ในที่นี้จะขอกล่าวถึงกลุ่มจุลินทรีย์ที่นำมาใช้ประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียในบ่อบำบัดน้ำเสียและบ่อเกรอะเป็นหลัก ซึ่งจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายกลุ่มนี้มีทั้งประเภทที่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาเป็นหลัก และกลุ่มที่ไม่ใช้ออกซิเจน ( Aerobic bacteria  และ Anaerobic bacteria ) 

1 ) กลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียที่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาเป็นหลัก ( Aerobic bacteria ) จุลินทรีย์กลุ่มนี้ต้องมีออกซิเจนละลายอยู่ในน้ำ ( น้ำเสีย ) เท่านั้นจึงจะทำงานย่อยสลายของเสียได้ ถ้าปราศจากออกซิเจนละลายอยู่ในน้ำเสียนั้นแล้ว จุลินทรีย์กลุ่มนี้ก็ไม่สามารถทำการย่อยสลายของเสียได้ นี่คือที่มาของการเติมอากาศลงไปในน้ำเสียหรือในบ่อบำบัดน้ำเสีย เพื่อเพิ่มปริมาณของกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลักให้สามารถทำงานย่อยสลายของเสียได้นั่นเอง กลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลักมีอยู่ในธรรมชาติแทบทุกหนทุกแห่งที่มีอากาศออกซิเจน

2 ) กลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียที่ไม่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสีย ( Anaerobic bacteria ) หนึ่งในกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์และมีประสิทธิภาพในการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียคือ กลุ่มจุลินทรีย์อีเอ็มหรือ EM นั่นเอง ซึ่งเป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์อีกลุ่มหนึ่งที่มีหลายสายพันธุ์รวมกันอยู่ในที่เดียวกัน ควบคุมดูแลง่าย สามารถใช้ได้ทั้งในสภาวะที่ไร้อากาศและในสภาวะที่มีอากาศ และสามารถทำงานได้ดีในทางคู่ขนานกับกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลัก ไม่ส่งผลเสียใดๆต่อระบบบำบัดน้ำเสีย เป็นการเสริมประสิทธิภาพในระบบบำบัดน้ำเสียให้ทำงานได้ดีมากขึ้น เพิ่มประสิทธิภาพในการย่อยสลายของเสียได้มากกว่าปกติทั่วไป

เราคือผู้ผลิตและจำหน่ายจุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสีย ขายจุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสียชนิดไม่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียรวมถึงการกำจัดกลิ่นเน่าเหม็น ( จุลินทรีย์อีเอ็ม ) ซึ่งเหมาะกับน้ำเสียที่มีค่าออกซิเจนในน้ำเสียต่ำหรือแทบไม่มีออกซิเจนละลายอยู่ในน้ำเสียเลย ( ค่า DO น้อยมากหรือแทบไม่มี ) ซึ่งจะส่งผลให้น้ำเสียวิกฤตมากยิ่งขึ้น เนื่องจากกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลักในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียมีน้อยหรือแทบไม่มีเลยในน้ำเสียนั้น กลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนจะทำงานได้ดีก็ต่อเมื่อในน้ำเสียนั้นมีออกซิเจนที่มากพอสำหรับใช้ในการสันดาปย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสีย จึงเป็นที่มาของการเติมอากาศออกซิเจนลงไปในน้ำเสียนั่นเอง ซึ่งการบำบัดน้ำเสียส่วนใหญ่ในประเทศไทยนิยมวิธีการเติมอากาศ แต่ในบางกรณีหรือน้ำเสียในบางแห่ง ปริมาณน้ำเสียอาจจะมากกว่าปริมาณจุลินทรีย์ที่เข้าไปย่อยสลาย ซึ่งสังเกตได้จากค่าพารามิเตอร์ที่ยังคงไม่ได้ตามเกณฑ์มาตรฐาน  ดังนั้น  จึงหาทางออกด้วยวิธีการเติมจุลินทรีย์ย่อยสลายกลุ่มที่ไม่ใช้ออกซิเจน ( จุลินทรีย์อีเอ็ม ) ซึ่งทำหน้าที่ได้คล้ายๆกันกับกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจน และสามารถทำงานร่วมกันได้ทั้งสองกลุ่มในเวลาเดียวกัน ซึ่งเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพในการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียรวมไปถึงการกำจัดกลิ่นไม่พึงประสงค์ต่างๆในบ่อบำบัดน้ำเสีย ถ้าท่านกำลังหาจุลินทรีย์ไปบำบัดน้ำเสียอยู่ และต้องการให้มีกลิ่นหอม คิดถึงจุลินทรีย์หอมคาซาม่า ตอบโจทย์การบำบัดน้ำเสีย ได้ประโยชน์อย่างน้อยที่สุด  2  ประการ คือ 

 

1. การบำบัดน้ำเสียและย่อยสลายของเสียต่างๆในน้ำเสียนั้นๆ 

 

2. การกำจัดกลิ่นไม่พังประสงค์ในน้ำเสียนั้นๆ หรือ การดับกลิ่นเน่าเหม็นในน้ำเสีย

จุลินทรีย์หอมคาซาม่า ( จุลินทรีย์หอม-Kasama ) ประกอบไปด้วยจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์หลากหลายกลุ่มดังต่อไปนี้

จุลินทรีย์หอมคาซาม่าเป็นการรวมกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโชน์และมีประสิทธิภาพมารวมอยู่ในที่เดียวกัน มีจุลินทรีย์รวมอยู่ 5 แฟมิลี่ 10 จีนัส 80 สปีชีส์ ดังต่อไปนี้

1. กลุ่มจุลินทรีย์สังเคราะห์แสง (Photosynthetic bacteria)  
จุลินทรีย์สังเคราะห์แสง (photosybthetic bacteria; PSB) เป็นจุลินทรีย์หรือแบคทีเรียพบกระจายอยู่ทั่วไปในธรรมชาติ  บทบาทของจุลินทรีย์สังเคราะห์แสง มีความสำคัญในกระบวนการน ำก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ไปใช้ (CO2 - assimilation) และการตรึงไนไตรเจน (nitrogen fixation) นอกจากนี ยังมีบทบาทสำคัญในห่วงโซ่อาหารซึ่งสัตว์ขนาดเล็ก ปลา กุ้ง หอย และปู สามารถนำจุลินทรีย์สังเคราะห์แสงมาใช้เป็นอาหารได้ นอกจากนี้ ในน้ำเสียจากบ้านเรือนและน้ำเสียจากการทำปศุสัตว์สามารถบำบัดด้วยจุลินทรีย์สังเคราะห์แสงได้อย่างมีประสิทธิภาพ 
 

2. กลุ่มจุลินทรีย์ผลิตกรดแลคติก (Lactic acid bacteria) 

3. กลุ่มจุลินทรีย์ตรึงไนโตเจน (Nitrogen fixing bacteria)   
4. กลุ่มจุลินท
รีย์แอคทิโนมัยซีทส์ (Actenomycetes) 

 จุลินทรีย์กลุ่มนี้เป็นตัวทำการรีไซเคิลอินทรีย์วัตถุจากซากพืชซากสัตว์ ให้เป็นสารใหม่กลับคืนสู่สิ่งแวดล้อมและเป็นแบคทีเรียที่มีประโยชน์ในหลายด้าน
5. กลุ่มจุลินทรีย์ยีสต์ (Yeasts)
 

 จุลินทรีย์หอม-Kasama เป็นการรวมกลุ่มของจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์มาใช้งานหลักๆดังต่อไปนี้ .-

1. ใช้ในการบำบัดน้ำเสียตามแหล่งต่างๆ เช่น ใช้เติมบ่อบำบัดน้ำเสียได้ทุกๆระบบ  เติมบ่อเกรอะ เพื่อย่อยสลายของเสียและสิ่งปฏิกูลต่างๆในบ่อเกรอะ ส่งลให้บ่อเกรอะหรือส้วมไม่เต็มง่าย

1.1  การใช้จุลินทรีย์หอมคาซาม่าบำบัดน้ำเสียและย่อยสลายขงเสีย  จุลินทรีย์หอมคาซาม่ามีคุณสมบัติในการย่อยสลายของเสียต่างๆในน้ำเสีย ( บำบัดน้ำเสีย ) ได้เหมือนกันกับกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลัก โดยปฏิกิริยาการย่อยสลายของเสียของจุลินทรีย์หอมคาซาม่าจะไม่ใช้ออกซิเจน ทำงานย่อยสลายของเสียต่างๆได้ทั้งในสภาวะไร้ออกซิเจนและมีออกซิเจน ในบ่อบำบัดน้ำเสียบางแห่งจะเป็นจุดอับออกซิเจนหรืออกซิเจนละลายไปไม่ถึง จึงส่งผลให้จุลินทรีย์ไม่มีการเจริญเติบโตและไม่อาศัยอยู่ในจุดที่ไม่มีออกซิเจน ทำให้ของเสียต่างๆไม่ได้ถูกย่อยสลาย ถ้ามีการเติมจุลินทรีย์หอมคาซาม่าเข้าไในระบบบ่อบำบัดน้ำเสีย ก็จะทำให้ของเสียต่างๆในน้ำเสียถูกย่อยสลายได้ทั่วถึงมากขึ้น ซึ่งเป็นการเสริมประสิทธิภาพการย่อยสลายของเสียของกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจน ในขณะเดียวกันก็เพิ่มประสิทธิภาพการย่อยสลายของเสียต่างๆในน้ำเสียนั้นๆได้มากขึ้นและเร็วขึ้นกว่าปกติทั่วไปของระบบบำบัด 

2.  ใช้ประโยชน์ในการดับกลิ่นหรือกำจัดกลิ่นไม่พึงประสงค์ต่างๆ เช่น กลิ่นเน่าเหม็นจากสารอินทรีย์ตามแหล่งต่างๆ  กลิ่นคาวจากพืชและสัตว์

2.2  การใช้จุลินทรีย์หอมคาซาม่าในการกำจัดกลิ่นหรือดับกลิ่นไม่พึงประสงค์ต่างๆ โดยเฉพาะกลิ่นที่มีที่มาจากสารอินทรีย์ทั้งหลาย จะกำจัดกลิ่นหรือดับกลิ่นได้ดี ทั้งกลิ่นเน่าเหม็น กลิ่นคาว และกลิ่นอื่นๆ ซึ่งถือว่าเป็นธรรมชาติบำบัด ไม่ส่งผลกระทบและผลเสียต่อสิ่งแวดล้อม ช่วยลดมลภาวะและมลพิษในเรื่องของกลิ่น ช่วยรักษาสิ่งแวดล้อมของโลก

จุลินทรีย์หอมคาซาม่า( จุลินทรีย์หอม kasama )

จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย & จุลินทรีย์กำจัดกลิ่นหรือดับกลิ่น

จุลินทรีย์หอมคาซาม่า จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย จุลินทรีย์ดับกลิ่น/กำจัดกลิ่นที่มีกลิ่นหอม

 - ให้คำแนะนำและคำปรึกษาในเรื่องการบำบัดน้ำเสีย ระบบบำบัดน้ำเสีย กับลูกค้าของเราทุกๆท่านฟรีๆ

 - ให้คำแนะนำและคำปรึกษาทางด้านเทคนิคการบำบัดน้ำเสียและปัญหาระบบบำบัดน้ำเสียฟรีๆ

 - ให้คำแนะนำและคำปรึกษาอย่างต่อเนื่องกับลูกค้าทุกๆท่านที่ใช้จุลินทรีย์หอมคาซาม่าอย่างต่อเนื่อง 

 ที่นี่..ไม่ได้จำหน่ายเพียงจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียและกำจัดกลิ่นเพียงแค่นั้น แต่เรายังมุ่งช่วยเหลือลูกค้าของเราทุกๆท่าน ที่มีปัญหาในการบำบัดน้ำเสียและระบบบำบัดน้ำเสียมีปัญหา โดยการให้คำแนะนำและคำปรึกษาฟรีๆ ในการแก้ไขปัญหาต่างๆสำหรับการบำบัดน้ำเสียและระบบบำบัดน้ำเสียที่มีปัญหาในด้านต่างๆ ทั้งเรื่องค่ามาตรฐานน้ำทิ้งไม่ผ่านเกณฑ์และปัญหาอื่นๆในระบบบำบัดน้ำเสียทั้งหมดของลูกค้า การบำบัดน้ำเสียและระบบบำบัดน้ำเสียส่วนใหญ่ ยังมีปัญหาค่ามาตรฐานน้ำทิ้งไม่ผ่านเกณฑ์มีเป็นจำนวนมาก ในการแก้ปัญหาต้องใช้ความรู้และความชำนาญพอสมควร   

ผู้นำ จุลินทรีย์หอม สำหรับ... 

1 ) จุลินทรีย์หอมดับกลิ่น หรือ จุลินทรีย์หอมกำจัดกลิ่น 

2 ) จุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสียและย่อยสลายของเสียต่างๆในน้ำเสีย

3 ) จุลินทรีย์หอมย่อยสลายไขมันและน้ำมัน ( พืชและสัตว์ )

เจ้าตำหรับจุลินทรีย์หอมเจ้าแรกของประเทศไทยที่พัฒนาจุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสีย  จุลินทรีย์หอมดับกลิ่นจุลินทรีย์หอมกำจัดกลิ่น จากจุลินทรีย์อีเอ็ม และไม่มีกลิ่นเหม็นอย่างแน่นอน คิดถึงจุลินทรีย์หอมไปใช้ประโยชน์ คิดถึง จุลินทรีย์หอมคาซาม่า ของแท้และเจ้าแรกของไทยมีเพียงเรารายเดียวเท่านั้น

ถ้าท่านต้องการจุลินทรีย์ไปบำบัดน้ำเสีย จุลินทรีย์ดับกลิ่นหรือกำจัดกลิ่นที่มีกลิ่นหอมจริงๆ คิดถึง.....จุลินทรีย์หอมคาซาม่า  เป็นอันดับแรก

           
จุลินทรีย์หอมคาซาม่า เป็นจุลินทรีย์หอมดับกลิ่น หรือ จุลินทรีย์หอมกำจัดกลิ่น จุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสีย จุลินทรีย์หอมย่อยสลายไขมันและน้ำมันจุลินทรีย์ที่มีกลิ่นหอมใช้แล้วกลิ่นหอมทันทีไม่ต้องรอนาน กำจัดกลิ่นไม่พึงประสงค์ได้ดีเยี่ยม เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมไม่มีสารเคมีปนเปื้อนใดๆ

          

ปัญหาของการบำบัดน้ำเสีย จุดที่ยากที่สุดก็คือ ปัญหาทางด้านเทคนิคในระบบบำบัดน้ำเสีย ซึ่งมีหลายๆส่วน โดยเฉพาะปัญหาค่ามาตรฐานน้ำทิ้งไม่ผ่าน มีกี่ค่า ? ต้องแก้ไขอย่างไร ? ปรับระบบอย่างไร? ซึ่งต้องใช้ความรู้และความเชี่ยวชาญเป็นกรณีพิเศษ ไม่ใช่เพียงแค่การใช้จุลินทรีย์บำบัดแล้วก็จบ ปัญหาทางด้านเทคนิค การปรับลดบางค่า หรือการเพิ่มบางค่าในระบบบำบัดจะพบบ่อยๆ ซึ่งต้องอาศัยผู้ที่รู้ลึกและรู้จริงเท่านั้น

โดยทั่วๆไปจุลินทรีย์อีเอ็ม หรือ อีเอ็ม ( EM  ) ที่ทุกท่านรู้จักจะมีกลิ่นเหม็นเปรี้ยวคล้ายๆกลิ่นซีอิ้ว ( ถ้าหมักจากกากน้ำตาลอย่างเดียว ) ถ้าจุลินทรีย์อีเอ็มตายก็จะมีกลิ่นเหม็นแทนที่และห้ามนำไปใช้งานอย่างเด็ดขาด  ต้องนำไปฝังทิ้งและกลบดินสถานเดียวเท่านั้น ห้ามนำไปทิ้งลงแม่น้ำหรือท่อน้ำสาธารณะ เพราะเป็นของเสียและมลพิษมลภาวะในตัวเดียวกัน  จุลินทรีย์อีเอ็มถ้าไม่ตายจะมีประโยชน์หลายๆอย่าง  แต่ถ้าเป็นจุลินทรีย์อีเอ็มที่เสียหรือตายแล้วมีกลิ่นเหม็นจะนำมาซึ่งโทษ ซึ่งก็คือ เชื้อโรคดีๆนี่เอง ห้ามนำไปใช้งานอย่างเด็ดขาด เพราะจะเกิดโทษติดตามมา กรณีที่จุลินทรีย์อีเอ็มหรืออีเอ็ม ( EM ) มีการหมักรวมมิตรทั้งเศษพืชผักเศษเนื้อต่างๆหมักรวมกันจะออกไปทางกลิ่นเหม็น ซึ่งกรณีนี้จะนำไปใช้เป็นปุ๋ยในทางการเกษตร ห้ามนำไปบำบัดน้ำเสียและดับกลิ่นอย่างเด็ดขาด  การใช้จุลินทรีย์อีเอ็มไปบำบัดน้ำเสียและกำจัดกลิ่นนั้น ต้องเป็นจุลินทรีย์อีเอ็มที่หมักจากกากน้ำตาลเท่านั้น ไม่ควรมีสิ่งอื่นผสมหรือปะปน เพราะอาจทำให้การนำไปใช้ประโยชน์ในการบำบัดน้ำเสียและดับกลิ่นเพี้ยนได้ง่ายๆ ยกเว้นนำไปใช้ในการเกษตรสามารถทำได้และเหมาะสม เพราะมีสารอินทรีย์หลายอย่างผสมอยู่เป็นปุ๋ยน้ำ 

       

จุลินทรีย์หอมคาซาม่า( จุลินทรีย์หอม-kasama )มีที่มาอย่างไร ? 

จุลินทรีย์หอมคาซาม่า พัฒนามาจากจุลินทรีย์อีเอ็มหรืออีเอ็ม ( em )ทั่วๆไปนี่เอง เพียงแต่เราได้พัฒนาให้มีความแข็งแกร่งมากขึ้นในทุกๆมิติ ทั้งความหนาแน่นและความแข็งแรงของจุลินทรีย์ ฯลฯ ประการสำคัญคือเราได้พัฒนาให้มีกลิ่นหอมเหมาะสำหรับการใช้งานดับกลิ่นหรือกำจัดกลิ่นไม่พึงประสงค์ต่างๆ เพราะโดยทั่วไปจุลินทรีย์อีเอ็มจะมีกลิ่นออกไปทางเหม็นเปรี้ยวคล้ายกลิ่นซีอิ้ว ลูกค้าหลายๆท่านไม่ชอบกลิ่นของจุลินทรีย์อีเอ็ม แต่โดยเนื้อแท้ของจุลินทรีย์อีเอ็มแล้วจะไม่มีสีและไม่มีกลิ่นแต่ประการใด กลิ่นและสีที่เรารับรู้และเห็นนั้นก็คือสีและกลิ่นจากกากน้ำตาลที่เกิดจากปฏิกิริยาการสังเคราะห์ของจุลินทรีย์อีเอ็มนั่นเอง ดังนั้น ทางร้านบางกอกโปรดักส์เราจึงได้พัฒนาจุดด้อยของจุลินทรีย์อีเอ็มให้กลายไปเป็นจุดเด่นๆในหลายๆด้านด้วยกัน เพื่อการใช้ประโยชน์ที่มากขึ้นนั่นเองจึงเป็นที่มาของ จุลินทรีย์หอมคาซาม่า มีที่มาที่ไปเช่นนี้  จุลินทรีย์หอมคาซาม่า หรือ จุลินทรีย์หอม เป็นคำนิยมที่ลูกค้านิยมใช้ค้นหาสินค้าของทางร้านฯ ในอินเตอร์เน็ตจากเว็บไซต์ของกูเกิ้ลนั่นเอง ( Google.co.th ) เป็นคำค้นหาแบบง่ายๆ แต่หาเจอง่ายและรวดเร็วมากที่สุดอีกคำหนึ่ง  ท่านลองใช้คำนี้หรือคีย์เวิร์ดนี้ คือ  จุลินทรีย์หอม หรือ จุลินทรีย์หอมคาซาม่า   พิมพ์ลงไปในช่องคำค้นหาในเว็บไซต์ของ  Google.co.th  แล้วกดค้นหา  ท่านจะพบข้อมูลเว็บไซต์ของทางร้านฯขึ้นมาอันดับแรกๆหรืออันดับต้นๆในหน้าแรกทันที ซึ่งการค้นหาง่ายและรวดเร็วทันใจ เข้าสู่เว็บไซต์ของทางร้านฯได้ทันที ( Bangkokshow.com ) ตามข้อมูลด้านล่างนี้

ผู้ผลิตและจำหน่ายจุลินทรีย์หอมคาซาม่าสำหรับบำบัดน้ำเสียในโรงงานเชือดไก่และเชือดหมูดับกลิ่นเน่าเหม็นในโรงงานห้องน้ำส่งกลิ่นเหม็นลดกลิ่นห้องน้ำดับกลิ่นส้วมเหม็นลดกลิ่นส้วม ...

จุลินทรีย์ในโลกนี้มีหลากหลายกลุ่มและหลากหลายสายพันธุ์ มีทั้งประเภทมีประโยชน์ กลุ่มที่เป็นกลาง และกลุ่มที่มีโทษ จุลินทรีย์หอมคาซาม่าจัดอยู่ในกลุ่มที่มีประโยชน์และไม่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสีย เป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประสิทธิภาพและมีประโยชน์ถูกนำไปใช้ประโยชน์ในหลายๆด้านด้วยกัน  ในที่นี้จะกล่าวถึงเฉพาะการนำไปใช้ประโยชน์ในการบำบัดน้ำเสีย การย่อยสลายของเสีย และการดับกลิ่นหรือกำจัดกลิ่นไม่พึงประสงค์ทั้งหลายที่เกิดจากสารอินทรีย์ เราได้พัฒนาจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์และมีประสิทธิภาพ ( จุลินทรีย์อีเอ็มหรือ EM )ให้มีกลิ่นหอมในสภาวะที่อยู่ในของเหลว จึงออกมาเป็นจุลินทรีย์หอมในที่สุด และสร้างเป็นชื่อหรือยี่ห้อของเราเป็น จุลินทรีย์หอมคาซาม่า ซึ่งคำว่า จุลินทรีย์เป็นชื่อกลาง ส่วนคำว่า  คาซาม่า จะเป็นชื่อแบรนด์หรือตรายี่ห้อของจุลินทรีย์หอมของเรา จุลินทรีย์หอมคาซาม่าถูกออกแบบและพัฒนาขึ้นมาเพื่อตอบโจทย์ความต้องการของลูกค้าเป็นหลัก  ลูกค้าจะไม่ชอบจุลินทรีย์อีเอ็มที่มีกลิ่นเหม็นเปรี้ยว โดยเฉพาะลูกค้าชาวต่างชาติ  ดังนั้น  ทางร้านฯจึงทำการพัฒนาและออกแบบให้จุลินทรีย์อีเอ็มมีกลิ่นหอมในตัว  ใช้งานแล้วมีกลิ่นหอมทันที  เราสังเคราะห์จุลินทรีย์อีเอ็มขึ้นจากหัวเชื้อโดยตรง ไม่มีการหมักจากพืชผักหรือเปลือกส้มเปลือก หรือเปลือกมะนาวใดๆ  เราโฟกัสไปที่การใช้งานในด้านการบำบัดน้ำเสียและการกำจัดกลิ่นหรือดับกลิ่นเป็นหลัก  จุลินทรีย์หอมคาซาม่าของเราเน้นความเข้มข้นสูง ไม่มีการเก่าเก็บ ( จุลินทรีย์ที่เก่าเก็บเป็นเวลานานๆจะเสื่อมสภาพลงเรื่อยๆ ทำให้ประสิทธิภาพลดลง ) ผ่านการตรวจสอบหรือคิวซีสดใหม่เสมอทุกๆแกลลอน บรรจุให้เกินปริมาณบรรจุทุกๆแกลลอน ( บรรจุเกิน 20 ลิตรทุกๆแกลลอน ) เราให้ทั้งคุณภาพและปริมาณเกินความคาดหมายของลูกค้าอย่างแน่นอน  จึงส่งผลให้ลูกค้าประจำมีเป็นจำนวนมากทั่วประเทศ  บางรายเป็นลูกค้าประจำเกิน 10 ปีขึ้นไปก็มีหลายราย ซึ่งใช้เป็นประจำและต่อเนื่องมาโดยตลอด

 จุลินทรีย์หอม-Kasama เป็นการรวมกลุ่มของจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์มาใช้งานหลักๆดังต่อไปนี้ .-

1. ใช้ในการบำบัดน้ำเสียตามแหล่งต่างๆ เช่น ใช้เติมบ่อบำบัดน้ำเสียได้ทุกๆระบบ  เติมบ่อเกรอะ เพื่อย่อยสลายของเสียและสิ่งปฏิกูลต่างๆในบ่อเกรอะ ส่งลให้บ่อเกรอะหรือส้วมไม่เต็มง่าย

1.1  การใช้จุลินทรีย์หอมคาซาม่าบำบัดน้ำเสียและย่อยสลายขงเสีย  จุลินทรีย์หอมคาซาม่ามีคุณสมบัติในการย่อยสลายของเสียต่างๆในน้ำเสีย ( บำบัดน้ำเสีย ) ได้เหมือนกันกับกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลัก โดยปฏิกิริยาการย่อยสลายของเสียของจุลินทรีย์หอมคาซาม่าจะไม่ใช้ออกซิเจน ทำงานย่อยสลายของเสียต่างๆได้ทั้งในสภาวะไร้ออกซิเจนและมีออกซิเจน ในบ่อบำบัดน้ำเสียบางแห่งจะเป็นจุดอับออกซิเจนหรืออกซิเจนละลายไปไม่ถึง จึงส่งผลให้จุลินทรีย์ไม่มีการเจริญเติบโตและไม่อาศัยอยู่ในจุดที่ไม่มีออกซิเจน ทำให้ของเสียต่างๆไม่ได้ถูกย่อยสลาย ถ้ามีการเติมจุลินทรีย์หอมคาซาม่าเข้าไในระบบบ่อบำบัดน้ำเสีย ก็จะทำให้ของเสียต่างๆในน้ำเสียถูกย่อยสลายได้ทั่วถึงมากขึ้น ซึ่งเป็นการเสริมประสิทธิภาพการย่อยสลายของเสียของกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจน ในขณะเดียวกันก็เพิ่มประสิทธิภาพการย่อยสลายของเสียต่างๆในน้ำเสียนั้นๆได้มากขึ้นและเร็วขึ้นกว่าปกติทั่วไปของระบบบำบัด 

2.  ใช้ประโยชน์ในการดับกลิ่นหรือกำจัดกลิ่นไม่พึงประสงค์ต่างๆ เช่น กลิ่นเน่าเหม็นจากสารอินทรีย์ตามแหล่งต่างๆ  กลิ่นคาวจากพืชและสัตว์

2.2  การใช้จุลินทรีย์หอมคาซาม่าในการกำจัดกลิ่นหรือดับกลิ่นไม่พึงประสงค์ต่างๆ โดยเฉพาะกลิ่นที่มีที่มาจากสารอินทรีย์ทั้งหลาย จะกำจัดกลิ่นหรือดับกลิ่นได้ดี ทั้งกลิ่นเน่าเหม็น กลิ่นคาว และกลิ่นอื่นๆ ซึ่งถือว่าเป็นธรรมชาติบำบัด ไม่ส่งผลกระทบและผลเสียต่อสิ่งแวดล้อม ช่วยลดมลภาวะและมลพิษในเรื่องของกลิ่น ช่วยรักษาสิ่งแวดล้อมของโลก

จุลินทรีย์หอมคาซาม่า ( จุลินทรีย์หอม-Kasama ) ใช้ประโยชน์อะไรได้บ้าง?

-  ย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสีย ดับกลิ่นบ่อบำบัดน้ำเสียส่งกลิ่นเหม็น

- ดับกลิ่นบ่อเกรอะ , ย่อยสลายของเสียในบ่อเกรอะ  เติมบ่อเกรอะเพื่อเพิ่มปริมาณจุลินทรีย์ในบ่อเกรอะ

- ดับกลิ่นน้ำเน่าเหม็น,  ดับกลิ่นปัสสาวะ ,  กลิ่นมูลสัตว์เลี้ยงทุกๆชนิด

- ดับกลิ่นห้องน้ำเหม็น ทั้งกลิ่นเหม็นจากโถส้วม ชักโครกและพื้นห้องน้ำ

- ดับกลิ่นส้วมเหม็น  บ่อเกรอะเหม็น  ท่อเดรนในห้องน้ำส่งกลิ่นเหม็น

- ดับกลิ่นท่อน้ำทิ้งในห้องน้ำเหม็น  ท่อระบายน้ำในห้องน้ำเหม็น ถังขยะเหม็น

- ดับกลิ่นสุนัขและสัตว์เลี้ยงทุกชนิด  ดับกลิ่นตามกรงสุนัข คอกสุนัขส่งกลิ่นเหม็น

- ดับกลิ่นมูลสัตว์และฟาร์มปศุสัตว์ทุกชนิด  เช่น ฟาร์มเป็ดฟาร์มไก่ ฟาร์มสุกรส่งกลิ่นเหม็นรบกวน

- ดับกลิ่นเน่าเหม็นตามตลาดและร้านอาหารทั่วไปที่มีของเน่าเสียส่งกลิ่นเหม็นรบกวน

          

จุลินทรีย์หอมคาซาม่า จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย จุลินทรีย์กำจัดกลิ่นหรือจุลินทรีย์ดับกลิ่น จุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสีย  จุลินทรีย์หอมดับกลิ่นเน่าเหม็นของเราเน้นความเข้มข้นสูง ไม่มีเก่าเก็บ ดับกลิ่นเน่าเหม็นได้รวดเร็ว ประการสำคัญคือ กลิ่นหอมทันทีที่นำไปใช้ดับกลิ่นห้องน้ำ หรือดับกลิ่นบ่อเกรอะ ดับกลิ่นบ่อบำบัดน้ำเสียที่ส่งกลิ่นเหม็น หรือฟาร์มปศุสัตว์อย่างฟาร์มสุกรที่ส่งกลิ่นเหม็นของมูลสุกร ฟาร์มสุนัข ฟาร์มเป็ด ฟาร์มไก่ ฯลฯ 

    

 

          

ที่นี่..จำหน่ายจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย , ขายจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย จุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสีย จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียที่มีกลิ่นหอม ต้องจุลินทรีย์หอมคาซาม่า ได้ประโยชน์ทั้งการบำบัดน้ำเสียและการดับกลิ่นในเวลาเดียวกันทันที ใช้บำบัดน้ำเสียได้ทุกๆระบบบำบัด จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียที่มีกลิ่นหอมเจ้าแรกของประเทศไทย

 จุลินทรีย์หอมคาซาม่าเป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่ไม่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาในทุกๆขั้นตอนมีประสิทธิภาพในการบำบัดน้ำเสีย ย่อยสลายของเสีย การดับกลิ่นกำจัดกลิ่นไม่พึงประสงค์ต่างๆ ทุกๆชนิด รวมถึงการย่อยสลายไขมันและน้ำมัน ฯลฯ

จุลินทรีย์ของเราบรรจุแกลลอนขนาด 20  ลิตร มีเพียงขนาดเดียวคือ 20  ลิตรเท่านั้น

จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย ราคา

จุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสีย ราคา

ราคาจำหน่าย ขนาด 20  ลิตร  แกลลอนละ  1,200  บาท

               จัดส่งฟรีทั่วประเทศ 

จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียที่มีกลิ่นหอม ต้องจุลินทรีย์หอมคาซาม่า จุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสีย จุลินทรีย์ดับกลิ่นเน่าเหม็นของเราเน้นความเข้มข้นสูง ไม่มีเก่าเก็บ ดับกลิ่นเน่าเหม็นได้รวดเร็ว ประการสำคัญคือ กลิ่นหอมทันทีที่นำไปใช้ดับกลิ่นห้องน้ำ หรือดับกลิ่นบ่อเกรอะ ดับกลิ่นบ่อบำบัดน้ำเสียที่ส่งกลิ่นเหม็น หรือฟาร์มปศุสัตว์อย่างฟาร์มสุกรที่ส่งกลิ่นเหม็นของมูลสุกร ฟาร์มสุนัข ฟาร์มเป็ด ฟาร์มไก่ ฯลฯ



         

ดูแต่ละหัวข้อ กรุณาคลิกที่ลิ้งค์ด้านล่างนี้

 

การบำบัดน้ำเสีย/ระบบบำบัดน้ำเสียของคอนโดมิเนียม กดดูที่นี่..

วิธีดับกลิ่นน้ำเน่าเหม็นและน้ำเน่าเสีย คลิกดูที่นี่...  

ดับกลิ่นห้องน้ำส่งกลิ่นเหม็น คลิกดูที่นี่...

ส้วมเหม็นทำอย่างไร? แก้ไขอย่างไร ? คลิกดูที่นี่..

ดับกลิ่นบ่อส้วมเหม็น บ่อส้วมมีกลิ่น คลิกดูที่นี่...

ชักโครกส่งกลิ่นเหม็น ท่อน้ำทิ้งมีกลิ่นเหม็น บ่อเกรอะส่งกลิ่นเหม็น คลิกที่นี่..

ดับกลิ่นส้วมเหม็น/ดับกลิ่นห้องน้ำเหม็น/ดับกลิ่นบ่อส้วมเหม็น คลิกที่นี่..

ดับกลิ่นสุนัขและสัตว์เลี้ยงทุกๆชนิด คลิกดูที่นี่..
 ปัญหาบ่อเติมอากาศส่งกลิ่นเหม็นเกิดจากสาเหตุใด ? คลิกดูที่นี่..
จุลินทรีย์ดับกลิ่นรถขยะ / ดับกลิ่นรถขนขยะเหม็น คลิกดูที่นี่.. 
บำบัดน้ำเสียและการบำบัดกลิ่นในโรงงานไอศครีมทุกๆแห่ง คลิกที่นี่... 

 การแก้ปัญหาน้ำเสียและกลิ่นในโรงงานขนมจีนทุกๆแห่ง คลิกดูที่นี่..

การดูแลและบำรุงรักษา/การบริหารจัดการระบบบำบัดน้ำเสีย คลิกดูที่นี่.. 

 วิธีลดค่า BOD , SS , TDS ในโรงงานปลากระป๋อง คลิกดูที่นี่..
จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย/จุลินทรีย์ที่ใช้ในการบำบัดน้ำเสีย คลิกที่นี่...

ดับกลิ่นและบำบัดน้ำเสียในล้งปลาทุกๆแห่ง คลิกดูที่นี่.. 
จุลินทรีย์ดับกลิ่นและบำบัดน้ำเสียในโรงงานผลิตขนม คลิกที่นี่.. 
จุลินทรีย์หอมดับกลิ่นและบำบัดน้ำเสียในฟาร์มเลี้ยงหมู คลิกที่นี่..
ดับกลิ่นและบำบัดน้ำเสียในล้งปลา/โรงงานทำปลา คลิกดูที่นี่..
การกำจัดไขมันและน้ำมันแบบง่ายๆ( FOG ) คลิกดูที่นี่.. 

การบำบัดน้ำเสียของคอนโดมิเนียม คลิกดูที่นี่.. 

จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียทำงานย่อยสลายของเสียอย่างไร คลิกดูที่นี่.. 

สัญญาณจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียในบ่อบำบัดมีปริมาณน้อย คลิกดูที่นี่.. 

วิธีการกำจัดสารอินทรีย์ที่เจือปนอยู่ในน้ำเสีย คลิกดูที่นี่.. 

การบำบัดน้ำเสียโดยทั่วไป คลิกดูที่นี่.. 

การบำบัดน้ำเสียของแต่ละหน่วยงาน คลิกดูที่นี่.. 

ระบบบำบัดน้ำเสีย / การบำบัดน้ำเสีย คลิกดูที่นี่.. 

บำบัดน้ำเสีย / วิธีบำบัดน้ำเสีย คลิกดูที่นี่..

บำบัดน้ำเสีย/ระบบบำบัดน้ำเสีย คลิกดูที่นี่..

การบำบัดน้ำเสีย/การดับกลิ่นด้วยจุลินทรีย์หอมคาซาม่า  คลิกที่นี่.. 

ประโยชน์ของการใช้จุลินทรีย์หอมคาซาม่าในบ่อเกรอะบ่อส้วม  คลิกที่นี่.. 

จุลินทรีย์ 2 in 1 (จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย & จุลินทรีย์ดับกลิ่น)คลิกดูที่นี่..  

ทำไมต้องเติจุลินทรีย์ลงไปในระบบบำบัดหรือบ่อบำบัด คลิกดูที่นี่.. 

จุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสีย & จุลินทรีย์หอมดับกลิ่น คลิกดูที่นี่..

จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย ซื้อที่ไหน  คลิกที่นี่.. 

วิธีดับกลิ่นส้วมเต็ม(ส้วมเหม็น) คลิกดูที่นี่...

ดับกลิ่นคาวปลาในโรงงาน / ดับกลิ่นคาวเลือดปลา คลิกดูที่นี่..

เลี้ยงหมูแบบเกษตรอินทรีย์ชีวภาพ  คลิกดูที่นี่..

 ดับกลิ่นบ่อส้วมเหม็น( ดับกลิ่นบ่อเกรอะเหม็น ) คลิกดูที่นี่.. 

จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย  คลิกดูที่นี่...

จุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสีย คลิกดูที่นี่....       

 จุลินทรีย์ดับกลิ่น  คลิกดูข้อมูลที่นี่... 

จุลินทรีย์หอมดับกลิ่น / จุลินทรีย์หอมกำจัดกลิ่น คลิกดูข้อมูลที่นี่.... 

จุลินทรีย์หอม  คลิกดูข้อมูลที่นี่.... 

น้ำยาดับกลิ่น / น้ำยากำจัดกลิ่น ที่ไม่ใช่สารเคมี คลิกที่นี่.. 

ขายจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียที่มีกลิ่นหอม  คลิกที่นี่.. 

การบำบัดน้ำเสียและดับกลิ่นในบ่อเกรอะ  คลิกที่นี่...

วิธีการลดค่า BOD,SS,TDS ในเบื้องต้นแบบง่ายๆ คลิกที่นี่..

จุลินทรีย์ดับกลิ่นและบำบัดน้ำเสียในฟาร์มเลี้ยงหมู คลิกที่นี่..

จุลินทรีย์ดับกลิ่นขยะเหม็น  คลิกที่นี่..

จุลินทรีย์ที่ใช้ในการบำบัดน้ำเสีย คลิกดูที่นี่..

จำหน่ายจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย/ขายจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย  คลิกที่นี่.. 

em บำบัดน้ำเสีย/  em หอมบำบัดน้ำเสีย คลิกที่นี่..  

em ดับกลิ่น / em หอมดับกลิ่น คลิกที่นี่.. 

em ดับกลิ่นส้วม ดับกลิ่นบ่อส้วมเหม็น คลิกดูที่นี่..  

จุลินทรีย์ดับกลิ่นส้วมดับกลิ่นบ่อส้วมเหม็น  คลิกดูที่นี่.. 

จุลินทรีย์ดับกลิ่นห้องน้ำ คลิกดูที่นี่...  

วิธีดับกลิ่นห้องน้ำเหม็น/ห้องน้ำมีกลิ่นแรง คลิกที่นี่...

วิธีดับกลิ่นบ่อเกรอะเหม็นบ่อส้วมเหม็น  คลิกดูที่นี่..

จุลินทรีย์ดับกลิ่นบ่อเกรอะ/ดับกลิ่นห้องน้ำ/บำบัดน้ำเสีย คลิกที่นี่.. 

การบริหารจัดการบำบัดน้ำเสียโดยรวมของระบบบำบัด คลิกที่นี่...  

จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย/จุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสีย  คลิกที่นี่...

ปัญหาระบบบำบัดน้ำเสีย & ปัญหาการบำบัดน้ำเสีย  คลิกที่นี่...  

ปัญหาค่ามาตรฐานน้ำทิ้งไม่ผ่านเกณฑ์มาจากสาเหตุใด ? คลิกดูที่นี่...

ระบบบำบัดน้ำเสียของอาคารสำนักงานและอาคารชุดทั่วๆไป คลิกที่นี่...

ค่า BOD และค่า DO มีความสำคัญอย่างไรต่อระบบบำบัดน้ำเสีย ? คลิกที่นี่...

ลดค่า  BOD  ทำอย่างไร ?  อยากรู้ คลิกดูที่นี่.... 

 การบริหารจัดการบำบัดน้ำเสียในโรงงานอุตสาหกรรม คลิกดูที่นี่.. 

การบริหารจัดการบ่อบำบัดน้ำเสียและระบบบำบัดน้ำเสียของคอนโด คลิกที่นี่..

เพิ่มประสิทธิภาพบ่อบำบัดน้ำเสียและระบบบำบัดน้ำเสียทุกๆระบบ  คลิกที่นี่...   

จุลินทรีย์หอม kasama ( จุลินทรีย์หอมคาซาม่า ) คลิกที่นี่..

จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย คืออะไร ? คลิกดูข้อมูลที่นี่.... 

จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียมีความสำคัญอย่างไร ? อยากรู้คลิกดูข้อมูลที่นี่...