จุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสีย ขอบคุณทุกๆท่านที่กด แชร์ ( Share )ให้กับจุลินทรีย์หอมคาซาม่า
# การใช้จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียอย่างถูกต้องและเหมาะสม ข้อแนะนำสำหรับผู้ที่จะนำจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียไปใช้งาน ควรมีความรู้และความเข้าใจในเรื่องที่จะนำไปใช้งานในแต่ละด้าน การใช้เป็นและใช้ถึง ใช้อย่างถูกต้องและตรงจุด จึงจะเกิดประโยชน์สูงสุดกับผู้ใช้งานจริง มืออาชีพจุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสีย จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียที่มีกลิ่นหอมเจ้าแรกของประเทศไทย ใช้บำบัดน้ำเสียได้ทุกๆระบบบำบัด
จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย ( จุลินทรีย์ที่มีประโยชนชน์ในการย่อยสลายของเสีย ) คือสิ่งที่สำคัญมากที่สุดในการบำบัดน้ำเสียและในระบบบำบัดน้ำเสียทุกๆระบบ เป็นตัวจักรที่สำคัญและมีบทบาทมากที่สุดในการบำบัดน้ำเสียจากทุกๆแหล่งและทุกๆระบบบำบัด ปัญหาของการบำบัดน้ำเสีย จุดที่ยากที่สุดก็คือ ปัญหาทางด้านเทคนิคในระบบบำบัดน้ำเสีย ซึ่งมีหลายๆส่วน โดยเฉพาะปัญหาค่ามาตรฐานน้ำทิ้งไม่ผ่าน มีกี่ค่า ? ต้องแก้ไขอย่างไร ? ปรับระบบอย่างไร? ซึ่งต้องใช้ความรู้และความเชี่ยวชาญเป็นกรณีพิเศษ ไม่ใช่เพียงแค่การใช้จุลินทรีย์บำบัดแล้วก็จบ ปัญหาทางด้านเทคนิค การปรับลดบางค่า หรือการเพิ่มบางค่าในระบบบำบัดจะพบบ่อยๆ ซึ่งต้องอาศัยผู้ที่รู้ลึกและรู้จริงเท่านั้น เพิ่มประสิทธิภาพการบำบัดน้ำเสียให้มากขึ้นในระบบบำบัดน้ำเสียทุกๆระบบบด้วยจุลินทรีย์หอมคาซาม่า เพิ่มค่า DO และลดค่า BOD ในบ่อบำบัดน้ำเสียและระบบบำบัดน้ำเสีย ย่อยสลายสารอินทรีย์ในน้ำเสียทำให้ค่า SS , TDS ของแข็งลดลง ส่งผลให้ค่า BOD ลดลงตามไปด้วย ผู้นำจุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสีย จุลินทรีย์หอมย่อยสลายของเสีย จุลินทรีย์หอมย่อยสลายไขมัน ในชื่อหรือยี่ห้อ " จุลินทรีย์หอมคาซาม่า " จุลินทรีย์ที่มีกลิ่นหอมเจ้าแรกของประเทศไทย ใช้แล้วกลิ่นหอมทันที ต้องการจุลินทรีย์ที่มีกลิ่นหอมไปใช้บำบัดน้ำเสียและบำบัดกลิ่น(ดับกลิ่น)ในเวลาเดียวกันนึกถึง จุลินทรีย์หอมคาซาม่า จุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสียจุลินทรีย์หอมบำบัดกลิ่น(กำจัดกลิ่น) โปรดระวังของลอกเลียนแบบ ( ของปลอม )
จุลินทรีย์ ( Micro-organism ) คืออะไร ? จุลินทรีย์หรือจุลชีพหรือแบคทีเรีย คือ สิ่งมีชีวิตขนาดเล็กมากจนมองด้วยตาเปล่าไม่เห็น เป็นสัตว์เซลล์เดียว จุลินทรีย์ในโลกนี้มีหลากหลายสายพันธุ์ มีทั้งชนิดใช้ออกซิเจนและไม่ใช้ออกซิเจน และมีทั้งชนิดที่มีประโยชน์ ชนิดที่มีโทษ และชนิดที่เป็นกลาง แบ่งได้ดังต่อไปนี้ .- 1. จุลินทรีย์กลุ่มที่ให้ประโยชน์หรือกลุ่มที่มีประโยชน์ในหลายๆด้าน มีทั้งชนิดใช้ออกซิเจนและไม่ใช้ออกซิเจนอยู่กระจัดกระจายทั่วๆไปในธรรมชาติดิน น้ำ อากาศ จุลินทรีย์กลุ่มนี้มีรวมกัน ( ทั้งชนิดใช้ออกซิเจนและไม่ใช้ออกซิเจน ) ประมาณ 10% ของจุลินทรีย์ทั้งหมดบนโลกใบนี้ 2. จุลินทรีย์กลุ่มที่ให้โทษหรือกลุ่มที่มีโทษต่อพืชและสัตว์รวมถึงสิ่งแวดล้อมหรือจุลินทรีย์ก่อโรคก็เป็นจุลินทรีย์กลุ่มนี้ อาหารเป็นพิษ อาหารบูดเน่า น้ำเน่าเสีย กลิ่นเน่าเหม็น ส่วนใหญ่ก็มาจากผลงานของจุลินทรีย์กลุ่มที่มีโทษนี้ มีทั้งชนิดใช้ออกซิเจนและไม่ใช้ออกซิเจนอยู่กระจัดกระจายทั่วๆไปในธรรมชาติดิน น้ำ อากาศ จุลินทรีย์กลุ่มนี้มีรวมกัน ( ทั้งชนิดใช้ออกซิเจนและไม่ใช้ออกซิเจน ) ประมาณ 10% ของจุลินทรีย์ทั้งหมดบนโลกใบนี้ 3. จุลินทรีย์กลุ่มที่เป็นกลาง ไม่มีประโยชน์และไม่มีโทษใดๆ สามารถเข้าร่วมงานกับกลุ่มใดก็ได้ในทั้ง 2 กลุ่มแรก มีทั้งชนิดใช้ออกซิเจนและไม่ใช้ออกซิเจนอยู่กระจัดกระจายทั่วๆไปในธรรมชาติดิน น้ำ อากาศ จุลินทรีย์กลุ่มนี้มีรวมกัน ( ทั้งชนิดใช้ออกซิเจนและไม่ใช้ออกซิเจน ) ประมาณ 80% ของจุลินทรีย์ทั้งหมดบนโลกใบนี้ ถือว่าเป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีมากที่สุดในโลก จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียคืออะไร ? จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย คือ จุลินทรีย์ที่อยู่ในกลุ่มที่มีประโยชน์ ( กลุ่มที่ 1 ข้างบน ) ซึ่งมีทั้งชนิดใช้ออกซิเจนและไม่ใช้ออกซิเจนที่มีอยู่ในธรรมชาติ มีคุณสมบัติในการย่อยสลายของเสียต่างๆบนโลกใบนี้ได้ดี รวมทั้งของเสียต่างๆที่เจือปนอยู่ในน้ำเสียจะถูกย่อยสลายแปรเปลี่ยนสภาพโดยจุลินทรีย์กลุ่มที่มีประโยชน์นี้เป็นหลัก จุลินทรีย์ที่ใช้ในการบำบัดน้ำเสียทั่วๆไป สำหรับจุลินทรีย์ที่จะใช้ในการบำบัดน้ำเสียนั้น จะต้องเป็นจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์และมีคุณสมบัติในการย่อยสลายของเสียได้ดีเท่านั้น จุลินทรีย์ที่ไม่มีคุณสมบัติในการย่อยสลายของเสียไม่จัดอยู่ในจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย(ย่อสลายของเสีย) ซึ่งมีอยู่ด้วยกัน 2 กลุ่มหรือ 2 ชนิดดังต่อไปนี้.- 1 ) กลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียชนิดที่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาเป็นหลัก ( Aerobic bacteria ) จุลินทรีย์กลุ่มนี้ต้องมีออกซิเจนละลายอยู่ในน้ำ ( น้ำเสีย ) เท่านั้นจึงจะทำงานย่อยสลายของเสียได้ ถ้าปราศจากออกซิเจนละลายอยู่ในน้ำเสียนั้นแล้ว จุลินทรีย์กลุ่มนี้ก็ไม่สามารถทำการย่อยสลายของเสียได้ นี่คือที่มาของการเติมอากาศลงไปในน้ำเสียหรือในบ่อบำบัดน้ำเสีย เพื่อเพิ่มปริมาณของกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลักให้สามารถทำงานย่อยสลายของเสียได้นั่นเอง กลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลักมีอยู่ในธรรมชาติแทบทุกหนทุกแห่งที่มีอากาศออกซิเจน 2 ) กลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียชนิดที่ไม่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสีย ( Anaerobic bacteria ) หนึ่งในกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์และมีประสิทธิภาพในการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียคือ กลุ่มจุลินทรีย์อีเอ็มหรือ EM นั่นเอง ซึ่งเป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์อีกลุ่มหนึ่งที่มีหลายสายพันธุ์รวมกันอยู่ในที่เดียวกัน ควบคุมดูแลง่าย สามารถใช้ได้ทั้งในสภาวะที่ไร้อากาศและในสภาวะที่มีอากาศ และสามารถทำงานได้ดีในทางคู่ขนานกับกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลัก ไม่ส่งผลเสียใดๆต่อระบบบำบัดน้ำเสีย เป็นการเสริมประสิทธิภาพในระบบบำบัดน้ำเสียให้ทำงานได้ดีมากขึ้น เพิ่มประสิทธิภาพในการย่อยสลายของเสียได้มากกว่าปกติทั่วไป ทำไมต้องใช้จุลินทรีย์กลุ่มที่มีประโยชน์มาย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสีย ? ดังที่กลาวมาแล้วข้างต้นว่า ในการบำบัดน้ำเสียให้เป็นน้ำดีนั้น ต้องพึ่งพาและอาศัยกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายกลุ่มที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียเป็นหลัก บรรดาของเสียต่างๆทั้งหมดทั้งมวล ซึ่งรวมทั้งน้ำเสียด้วยที่ไม่ล้นโลกจนถึงทุกวันนี้ ก็มาจากผลงงานของจุลินทรีย์ย่อยสลายกลุ่มที่มีประโยชน์นี้เอง น้ำเสียและของเสียสิ่งเจือปนในน้ำเสียก็ต้องใช้จุลินทรีย์ย่อยสลายมาบำบัดเพื่อแปรเปลี่ยนสภาพของเสียต่างๆ ให้แปรเปลี่ยนสภาพกลายไปเป็น ==>> น้ำ + พลังงาน + CO2 ตามสมการด้านล่างนี้
ภาพบนเป็นปฏิกิริยาการบำบัดน้ำเสียและย่อยสลายของเสียด้วยจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสีย 2 กลุ่มด้วยกัน 1. ภาพส่วนบน ( พื้นสีฟ้า ) จะเป็นปฏิกิริยาย่อยสลายโดยกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจน จากปฏิกิริยาจะได้ ==>> น้ำ + พลังงาน + CO2 2. ภาพส่วนล่าง ( พื้นสีเขียวอ่อน ) จะเป็นปฏิกิริยาการย่อยสลายโดยกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ไม่ใช้ออกซิเจน ( จุลินทรีย์หอมคาซาม่า ) จากปฏิกิริยาจะได้ ==>> น้ำ + พลังงาน + CO2 + CH4 ( ก๊าซมีเทน ) จะเห็นได้ว่าจะได้ก๊าซมีเทนเพิ่มขึ้นมาอีก สามารถนำไปใช้เป็นพลังงานได้ กลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียทั้ง 2 กลุ่มนี้ ( กลุ่มที่ใช้ออกซิเจนและกลุ่มจุลินทรีย์หอมคาซาม่าไม่ใช้ออกซิเจน ) จะทำหน้าที่ในการย่อยสลายของเสียต่างๆ เพื่อแปรเปลี่ยนสถานะของเสียต่างๆในน้ำเสียเป็นไปตามสมการด้านบน ความหมายของจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย(ย่อยสลายของเสียต่างๆในน้ำเสีย)คือกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์และมีคุณสมบัติในการย่อยสลายของเสียต่างๆได้ดี จุลินทรีย์กลุ่มอื่นๆที่ไม่มีคุณสมบัติในการย่อยสลายของเสียก็ไม่จัดอยู่ในกลุ่มจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย มีหลากหลายสายพันธุ์ด้วยกันในโลกนี้ มีทั้งชนิดที่ใช้ออกซิเจนและชนิดที่ไม่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสีย จุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสีย(จุลินทรีย์หอมคาซาม่า) จุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสีย เป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์และมีคุณสมบัติในการบำบัดน้ำเสีย(ย่อยสลายของเสียต่างๆในน้ำเสีย)ถูกพัฒนาและต่อยอดมาจากจุลินทรีย์อีเอ็มเดิม ( em ) ซึ่งจุลินทรีย์อีเอ็มเดิมจะมีกลิ่นเปรี้ยว ในบางครั้งอาจมีกลิ่นเหม็นเปรี้ยวก็มี ซึ่งกลิ่นต่างๆในจุลินทรีย์อีเอ็มมาจากกระบวนการหมักเลี้ยงเชื้อจุลินทรีย์ด้วยโมลาส จึงเกิดกลิ่นขึ้นในจุลินทรีย์อีเอ็มดังกล่าว ลูกค้าส่วนใหญ่จะไม่ชอบกลิ่นของจุลินทรีย์อีเอ็ม ดังนั้น เราจึงได้ทำการปรับปรุงและพัฒนาในเรื่องของกลิ่นจุลินทรีย์อีเอ็มเดิมให้มีกลิ่นหอมแทนที่กลิ่นเหม็นเปรี้ยว ซึ่งเป็นที่ชื่นชอบของลูกค้า โดยเฉพาะการนำจุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสียไปใช้ในการบำบัดน้ำเสียและการบำบัดกลิ่น(ดับกลิ่น) ซึ่งจะได้ประโยชน์สองอย่างในเวลาเดียวกัน จึงเป็นที่มาของ " จุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสีย " ในนามแบรนด์ " จุลินทรีย์หอมคาซาม่า " ซึ่งเป็นจุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสียและบำบัดกลิ่น(ดับกลิ่นกำจัดกลิ่น)ที่ใช้แล้วมีกลิ่นหอมทันที บำบัดกลิ่น(ดับกลิ่น)ได้รวดเร็ว จุลินทรีย์หอมคาซาม่า จุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสียและบำบัดกลิ่น(ดับกลิ่นกำจัดกลิ่น) ย่อยสลายของเสียต่างๆในน้ำเสียชนิดไม่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสีย ( Anaerobic Bacteria) ทางเลือกใหม่ในการเพิ่มและเสริมประสิทธิภาพในการบำบัดน้ำเสียและเสริมประสิทธิภาพในระบบบำบัดน้ำเสียทุกๆระบบ ไม่ต้องปรับแต่งหรือลงทุนสร้างระบบบำบัดใหม่ให้ยุ่งยากและสิ้นเปลืองงบประมาณอีกต่อไป สามารถใช้จุลินทรีย์หอมคาซาม่าเติมเข้าไปในระบบบำบัดน้ำเสียได้ทันที โดยไม่ต้องไปทำสิ่งใดเพิ่มเติมในระบบบำบัดน้ำเสีย ในการบำบัดน้ำเสียและย่อยสลายของเสียต่างๆในน้ำเสียของจุลินทรีย์หอมคาซาม่าจะมีลักษณะเช่นเดียวกันกับการบำบัดน้ำเสียของจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจน ( ตามปฏิกิริยาจำลองภาพล่าง ) การใช้กลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายชนิดไม่ใช้ออกซิเจนนี้จะมีผลพลอยได้จากปฏิกิริยาการย่อยสลายเพิ่มขึ้นมาอีกชนิดหนึ่งคือ ก๊าซมีเทน ( CH4 ) ซึ่งสามารถนำกลับมาใช้เป็นพลังงานต่อไปได้ จุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสีย ( จุลินทรีย์หอมคาซาม่า ) จุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสีย ได้ประโยชน์ทั้งการบำบัดน้ำเสียและดับกลิ่นกำจัดกลิ่นไม่พึงประสงค์ต่างๆในบ่อบำบัดน้ำเสียในเวลาเดียวกัน จุลินทรีย์หอมคาซาม่าเป็นกลุ่มจุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสียเจ้าแรกของประเทศที่จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียมีกลิ่นหอม กลุ่มจุลินทรีย์หอมคาซาม่า จุลินทรีย์ที่มีกลิ่นหอม เป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์และมีคุณสมบัติในด้านการย่อยสลายของเสียต่างๆและบำบัดน้ำเสีย รวมถึงการดับกลิ่นหรือกำจัดกลิ่นไม่พึงประสงค์ต่างๆ เป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ชนิดไม่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลาย และเราได้พัฒนาให้มีกลิ่นหอม เพราะโยทั่วๆไป จุลินทรีย์จะไม่มีสี ไม่มีกลิ่น และไม่มีรสชาติใดๆ จุลินทรีย์หอมคาซาม่าทำหน้าที่ในการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียได้เช่นเดียวกันกับกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลัก และยังมีคุณสมบัติเด่นๆที่จุลินทรีย์กลุ่มอื่นๆไม่มี นั่นก็คือ การดับกลิ่นหรือกำจัดกลิ่นไม่พึงประสงค์ต่างๆที่เกิดจากสารอินทรีย์ทำให้เกิดการเน่าเหม็น โดยเฉพาะในน้ำที่เน่าเสียเป็นต้น การทำงาน ( ปฏิกิริยาย่อยสลาย ) ของจุลินทรีย์หอมคาซาม่า จุลินทรีย์หอมคาซาม่าจะเข้าไปทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียต่างๆในน้ำเสีย สารอินทรีย์ที่เจือปนอยู่ในน้ำเสีย โดยไม่ใช้ออกซิเจนที่ละลายอยู่ในน้ำเสียมาใช้ในปฏิกิริยา ทำให้ในน้ำเสียค่าออกซิเจนไม่ถูกแย่งไปจากกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจน กรณีที่น้ำเสียนั้นวิกฤตมาก ( เกิดการเน่าเหม็น ) จุลินทรีย์หอมคาซาม่านอกจากบำบัดน้ำเสียและย่อยสลายของเสียต่างๆในน้ำเสียแล้ว ยังทำหน้าที่อีกประการหนึ่งก็คือ การบำบัดกลิ่นที่เน่าเหม็นของน้ำเสียนั้นๆหรือการกำจัดกลิ่นดับกลิ่นน้ำที่เน่าเสียนั่นเอง ซึ่งจุลินทรีย์กลุ่มอื่นๆจะไม่มีคุณสมบัติในข้อนี้ ในการใช้จุลินทรีย์หอมคาซาม่าบำบัดน้ำเสียจึงได้ประโยชน์เพิ่มขึ้นอีกอย่างหนึ่งในเวลาเดียวกันนั่นก็คือ การกำจัดกลิ่นหรือดับกลิ่นไม่พึงประสงค์ในน้ำเสีย จุลินทรีย์หอมคาซาม่าเกิดจากการรวมกลุ่มของจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในแต่ละด้านหลายสายพันธุ์นำมารวมไว้ในที่เดียวกัน ในที่นี้เรานำมาใช้ประโยชน์ในการย่อยสลายของเสีย ( บำบัดน้ำเสีย ) และการกำจัดกลิ่นหรือดับกลิ่น สามารถทำงานย่อยสลายของเสียต่างๆร่วมกับกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนได้เป็นอย่างดี จึงเป็นการเสริมและเพิ่มประสิทธิภาพการบำบัดน้ำเสียในระบบบำบัดน้ำเสียให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ของเสียต่างๆในน้ำเสียถูกย่อยสลายได้มากขึ้นและเร็วขึ้น โดยเฉพาะระบบบำบัดน้ำเสียแบบเติมอากาศ ( AS ) ซึ่งมักจะมีปัญหาบ่อยๆและเป็นประจำ และยังเป็นระบบบำบัดน้ำเสียที่นิยมใช้กันมากที่สุดในปัจจุบัน ( มากกว่า 90% ) จุลินทรีย์หอมคาซาม่าจะมาเติมเต็มช่วยให้ระบบบำบัดน้ำเสียแบบเติมอากาศมีประสิทธิภาพในการบำบัดน้ำเสียและย่อยสลายของเสียต่างๆในน้ำเสียเพิ่มมากขึ้นกว่าปกติทั่วๆไปโดยไม่ต้องแก้ไขหรือสร้างระบบบำบัดใหม่ให้สิ้นเปลืองงบประมาณ มีปัญหาในการบำบัดน้ำเสียหรือมีปัญหาในเรื่องระบบบำบัดน้ำเสียคิดถึงจุลินทรีย์หอมคาซาม่า เพื่อช่วยแก้ปัญหาให้กับท่าน กระบวนการบำบัดน้ำเสียด้วยจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียหรือการบำบัดน้ำเสียโดยจุลินทรีย์ย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสีย ซึ่งเป็นเรื่องปกติทั่วๆไปที่การบำบัดน้ำเสีย การย่อยสลายของเสียต่างๆบนโลกใบนี้ล้วนต้องพึ่งพาและอาศัยจุลินทรีย์ย่อยสลายทั้งสิ้น ถ้าปราศจากจุลินทรีย์ย่อยสลายแล้ว โลกใบนี้ของเสียและน้ำเสียต่างๆคงล้นโลกไปนานแล้ว การย่อยสลายของเสียต่างๆของจุลินทรีย์ย่อยสลายเป็นกระบวนการทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นตลอดเวลาในสภาวะแวดล้อมและอุณหภูมิที่เหมาะสม อย่างที่กล่าวมาแล้วว่าบรรดาของเสียทุกๆอย่างในโลกใบนี้ ซึ่งรวมถึงน้ำเสียด้วย ต้องอาศัยจุลินทรีย์ในการย่อยสลายและบำบัดทั้งสิ้น ยังไม่มีสิ่งใดมาทำหน้าที่หรือทดแทนจุลินทรีย์ในการย่อยสลายได้ในปัจจุบัน กลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียเป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ มีทั้งประเภทใช้ออกซิเจนเป็นหลักและไม่ใช้ออกซิเจน ซึ่งมีหลากหลายกลุ่มหลากหลายสายพันธุ์ด้วยกันกระจัดกระจายอยู่ในธรรมชาติ ( ไม่ได้รวมกลุ่มกัน )ในการรวมกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียนี้จึงต้องออกแบบระบบบำบัดน้ำเสียให้เหมาะสมเป็นที่ต้องการดำรงชีพของจุลินทรีย์กลุ่มนี้ ถ้าสิ่งแวดล้อมในระบบบำบัดน้ำเสียไม่เอื้ออำนวยต่อการดำรงชีพของกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ ระบบบำบัดน้ำเสียนั้นก็จะมีปัญหาวิกฤติน้ำเสียทันที น้ำเสียที่เกิดขึ้นไม่สามารถบำบัดได้สมบูรณ์เนื่องจากขาดจุลินทรีย์ย่อยสลายหรือมีปริมาณจุลินทรีย์น้อยกว่าปริมาณของเสียที่เกิดขึ้นจริง ไม่ว่าจะใช้วิธีใดในการเติมหรือเพิ่มปริมาณจุลินทรีย์เข้าไปในระบบบำบัดน้ำเสียนั้นเป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่ง ทั้งนี้เพื่อให้น้ำเสียในบ่อบำบัดได้รับการบำบัดให้เป็นน้ำดีก่อนปล่อยทิ้งออกสู่สิ่งแวดล้อมสาธารณะต่อไป ในการบำบัดน้ำเสียให้เป็นน้ำดีนั้นต้องอาศัยกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียเป็นหลัก ระบบบำบัดน้ำเสียทุกๆระบบ ไม่ว่าจะลงทุนมากหรือลงทุนน้อยเพียงใด วัตถุประสงค์ของการสร้างระบบบำบัดน้ำเสียขึ้นมาก็คือ ต้องการดึงกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียมาใช้งานในบ่อบำบัดเพื่อทำการย่อยสลายของเสียต่างๆนั่นเอง ของเสียต่างๆที่เจือปนอยู่ในน้ำเสียมีทั้งสารอินทรีย์และสารอินินทรีย์ และสารที่เป็นของเสียทั้งหมดในน้ำเสียนั้นๆก็จะถูกย่อยสลายโดยกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสีย ซึ่งกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียเหล่านี้มีหลากหลายสายพันธุ์ มีทั้งชนิดที่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่่อยสลายและชนิดไม่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลาย ซึ่งล้วนมีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียทั้งคู่ ถ้าปริมาณของจุลินทรีย์ย่อยสลายมีมากกว่าปริมาณของเสียและน้ำเสีย การย่อยสลายก็เกิดขึ้นได้สมบูรณ์ บรรดาของเสียและน้ำเสียก็จะถูกย่อยสลายกลายไปเป็น CO2 + น้ำ + พลังงาน + อื่นๆ นี้เป็นสมการจากปฏิกิริยาการย่อยสลายของจุลินทรีย์ในน้ำเสีย ซึ่งจะส่งผลให้ค่าพารามิเตอร์ต่างๆลดลง ทั้งค่า BOD , COD , TDS , SS และอื่นๆ ในขณะที่ค่า DO เพิ่มขึ้น ( น้ำเสียค่า DO < 3 ppm. ส่วนน้ำดีค่า DO 5-8 ppm. ) การเพิ่มปริมาณออกซิเจนลงในน้ำเสียตลอดเวลาเป็นสิ่งจำเป็น เพราะมันจะส่งผลดีต่อการเจริญเติบโตของกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้อออกซิเจนเป็นหลักในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียในระบบบำบัดน้ำเสียหรือบ่อบำบัดน้ำเสียนั้นๆ
จุลินทรีย์หอมคาซาม่า เป็นจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียที่มีกลิ่นหอมชนิดที่ไม่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียในน้ำเสีย(บำบัดน้ำเสีย) มีความหนาแน่นของปริมาณจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียสูง มีความแข็งแกร่ง ไม่เก่าเก็บ มีอาหารเลี้ยงเชื้ออยู่ตลอดเวลา เชื้อจุลินทรีย์มีการขายตัวอย่างต่อเนื่อง และมีอายุการใช้งานของจุลินทรีย์ไม่ต่ำกว่า 1 ปีขึ้นไป ( กรณีที่บรรจุอย่างมิดชิดอยู่ในแกลลอนที่จำหน่าย ) ใช้งานบำบัดน้ำเสีย ย่อยสลายของเสียและดับกลิ่นบำบัดกลิ่นได้ทันที ปฏิกิริยาจะเกิดขึ้นทันที ไม่ต้องไปขยายต่อให้ยุ่งยากหรือผสมน้ำให้ลำบาก เป็นจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียที่พร้อมใช้งานตลอดเวลา ไม่ต้องไปหาสิ่งใดมาเลี้ยงเชื้อให้ยุ่งยาก เพราะจุลินทรีย์หอมคาซาม่าของเรา เชื้อจะมีการขยายตัวอยู่ตลอดเวลา การนำจุลินทรีย์หอมคาซาม่าไปใช้ในการบำบัดน้ำเสีย จุลินทรีย์หอมคาซาม่าใช้งานบำบัดน้ำเสียได้ทั้งในสภาวะที่น้ำเสียนั้นๆไม่มีออกซิเจน และน้ำเสียที่มีออกซิเจนละลายอยู่ ปฏิกิริยาการบำบัดน้ำเสีย(ย่อยสลายของเสียในน้ำเสีย) จะเกิดขึ้นตามสมการจำลองด้านล่าง
ภาพบนเป็นปฏิกิริยาการย่อยสลายของเสีย(บำบัดน้ำเสีย)ของจุลินทรีย์หอมคาซาม่า ซึ่งผลลัพธ์ที่ได้มาจะเหมือนกันกับการบำบัดน้ำเสียด้วยกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลัก ( Aerobic Bacteria ) ซึ่งระบบบำบัดน้ำเสียส่วนใหญ่จะใช้จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย(ย่อยสลายของเสียในน้ำเสีย)ชนิดที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลัก เหตุเพราะสามารถดึงมาใช้ได้ง่ายกว่ากลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ไม่ใช้ออกซิเจน ( Anaerobic Bacteria ) แต่ก็มีจุดอ่อนอยู่หลายจุด ถ้าออกแบบระบบสิ่งแวดล้อมได้ไม่ดีพอ หรือกรณีเกิดวิกฤตขึ้นในระบบบำบัด กลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนจะมีปัญหา จุลินทรีย์หอมคาซาม่าจะทำงาน(ปฏิกิริยาย่อยสลาย) ได้ในทุกๆที่และทุกๆระบบบำบัด มีความทนทานและต้านทานกับสภาวะแวดล้อมที่วิกฤตได้ ซึ่งจะแตกต่างจากกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลักที่ไม่สามารถทนกับสภาวะแวดล้อมที่วิกฤตได้ นี่คือจุดเด่นๆของจุลินทรีย์หอมคาซาม่าของเราที่ไปแก้ปัญหาปิดจุดอ่อนของการบำบัดน้ำเสียและระบบบำบัดน้ำเสียที่มีปัญหาล้มเหลวบ่อยๆ จุลินทรีย์หอมคาซาม่าแก้ปัญหาการบำบัดน้ำเสียและระบบบำบัดน้ำเสียในจุดใด ? ระบบบำบัดน้ำเสียที่มีปัญหาดังต่อไปนี้ - ปริมาณจุลินทรีย์ย่อยสลายของเสีย(จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย) มีปริมาณน้อย(เมื่อเปรียบเทียบกับน้ำเสียที่มีปริมาณมากกว่า) ซึ่งจะทำให้เกิดปัญหาต่างๆติดตามมา ทั้งค่ามาตรฐานน้ำทิ้งแต่ละค่าไม่ผ่านเกณฑ์กำหนด กลิ่นไม่พึงประสงค์ทั้งหลายติดตามมา สาเหตุเพราะปฏิกิริยาการย่อยสลายเกิดขึ้นน้อย อันเนื่องมาจากมีปริมาณจุลินทรีย์ย่อยสลายในระบบมีน้อย ต้องเติมหรือเพิ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายไปทดแทนเข้าไปในระบบ - เครื่องเติมอากาศมีปัญหา ( Aerator ) เช่น เครื่องเสียบ่อยๆ หรือ กำลังการเติมอากาศไม่เพียงพอ ( กำลังแรงม้าหรือกำลังวัตต์ต่ำเกินไป ) น้ำเสียมีปริมาณมากและบ่อบำบัดมีขนาดใหญ่ แต่ใช้เครื่องเติมอากาศกำลังแรงม้าต่ำ ซึ่งไม่สมดุลกัน จะผลิตออกซิเจนป้อนน้ำเสียและป้อนให้กับกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลักทำได้น้อยลง หรือกรณีที่การเติมออกซิเจนได้ไม่ทั่วถึงทั้งบ่อบำบัดก็มีปัญหาเช่นกัน จุดที่วางเครื่องเติมอากาศ บ่อบำบัดไม่ควรลึกเกิน 3 เมตรเป็นต้น - ปริมาณออกซิเจนที่ละลายอยู่ในน้ำเสียมีปริมาณน้อย ( ค่า DO ต่ำ ) โดยทั่วๆไปในน้ำเสียค่า DO ไม่ควรต่ำกว่า 2 mg/l ถ้าค่าDO ต่ำกว่านี้จะมีผลกระทบต่อกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนทันที ยิ่งค่า DO เป็น ศูนย์ กลุ่มจุลินทรีย์ย่อสลายที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลักอาจตายยกบ่อได้ตลอดเวลา การเติมอากาศจึงเป็นตัวแปรที่สำคัญต่อการดำรงชีพและการทำหน้าที่ย่อยสลายของเสียของกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจน เติมออกซิเจนได้มากเพียงพอหรือไม่ เติมได้ทั่วถึงทั้งบ่อหรือไม่ นี่คือปัญหาที่พบบ่อยๆของระบบบำบัดน้ำเสียแบบเติมอากาศ ( ระบบ AS : Activated Sludge ) ซึ่งเป็นระบบบำบัดน้ำเสียที่นิยมมากที่สุด ( มากกว่า 90% เป็นระบบบำบัดแบบเติมอากาศ AS ) เหตุผลที่ต้องมีการเติมอากาศออกซิเจนลงในน้ำเสียก็คือ ต้องการให้น้ำเสียนั้นมีออกซิเจนเพียงพอ และให้จุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนนำไปใช้ในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียและการดำรงชีพของจุลินทรีย์เอง - สิ่งแวดล้อมในบ่อบำบัดมีปัญหา เช่น น้ำเสียนั้นๆมีค่า pH ต่ำมาก หรือมีค่า pH สูงมาก ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลักทันที วิกฤตเช่นนี้อาจทำให้กลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนตายยกบ่อได้ทุกเมื่อ ดังนั้น จึงต้องมีการตรวจเช็คค่า pH อยู่เป็นประจำ กรณีที่จุลินทรีย์ย่อยสลายมีปัญหาตายยกบ่อหรือมีปริมาณน้อย สามารถสังเกตทางกายภาพได้ด้วยวิธีสังเกตในเรื่องกลิ่นของน้ำเสีย ถ้ามีกลิ่นเหม็นรุนแรงขึ้นเรื่อยๆ นั่นหมายความว่า จุลินทรีย์อาจตายยกบ่อบำบัดหรือมีปริมาณน้อยมาก จึงทำให้เกิดปัญหาขึ้น ตัวแปรที่สำคัญมากที่สุดในการบำบัดน้ำเสียขั้นสุดท้ายก็คือ จุลินทรีย์ย่อยสลายของเสีย(จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย) ทุกๆระบบบำบัดจะขาดซื่งจุลินทรีย์ย่อยสลายไม่ได้โดยเด็ดขาด คุณภาพน้ำทิ้งจะผ่านหรือไม่ผ่าน คุณภาพน้ำทิ้งจะดีหรือไม่ดีอยู่ที่ตัวแปร(จุลินทรีย์ย่อยสลาย)ตัวนี้เป็นหลัก - สารเคมีบางชนิดอาจทำอันตรายต่อจุลินทรีย์ได้ตลอดเวลา ดังนั้น จึงไม่ควรทิ้งสารเคมีที่เป็นอันตรายต่อจุลินทรีย์ย่อยสลายลงในระบบบำบัดอย่างเด็ดขาด เพราะจุลินทรีย์เป็นสิ่งมีชีวิตขนาดเล็ก หรือในกรณีที่มีการใช้สารที่เป็นกรดอ่อนๆ หรือสารที่เป็นด่างแก่ จะส่งผลกระทบต่อระบบบำบัดน้ำเสียได้ น้ำเสียส่วนใหญ่จะมีความเป็นกรด ( จากสารอินทรีย์ ) ยกเว้นน้ำเสียจากโรงงานอุตสาหกรรมที่ผลิตสารเคมีหรือใช้สารเคมี ที่กล่าวมาทั้งหมดจะเป็นปัญหาบางส่วนที่เกิดขึ้นในระบบบำบัดน้ำเสียเท่านั้น ยังมีปัญหาอีกหลายอย่างที่ไม่ได้นำมากล่าวไว้ในที่นี้ โดยเฉพาะปัญหาทางด้านเทคนิคของระบบบำบัดน้ำเสีย ซึ่งจะส่งผลต่อประสิทธิภาพของการบำบัดน้ำเสียและประสิทธิภาพของระบบบำบัดน้ำเสียโดยตรง ระบบบำบัดน้ำเสียใดมีประสิทธิภาพดีหรือมีประสิทธิภาพด้อยในการบำบัดน้ำเสีย สามารถดูผลลัพธ์ได้จากค่ามาตรฐานน้ำทิ้งผ่านเกณฑ์ทุกๆค่าหรือไม่ นี้คือตัวตัดสินของการบำบัดน้ำเสีย ( ค่ามาตรฐานน้ำทิ้ง ) จุลินทรีย์หอมคาซาม่าจะมาแก้ปัญหาปิดจุดอ่อนที่กล่าวมาเหล่านี้ ซึ่งจะช่วยทั้งการเพิ่มประสิทธิภาพการบำบัดน้ำเสียและระบบบำบัดน้ำเสียให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น และยังช่วยเสริมจุดอ่อนของการบำบัดน้ำเสียและระบบบำบัดน้ำเสียที่มีปัญหาตามที่กล่าวมาข้างบน กลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลักสามารถดึงมาใช้งานบำบัดน้ำเสียได้ง่ายก็จริง แต่ควบคุมได้ค่อนข้างยาก ต้องมีปัจจัยหลายๆอย่างประกอบและเกื้อหนุนเพื่อรักษาจุลินทรีย์กลุ่มนี้ให้มีมากพอและอยู่ในระบบบำบัดตามที่ต้องการ แต่จุลินทรีย์หอมคาซาม่าไม่มีความยุ่งยาก ไม่ต้องควบคุมใดๆ สามารถเติมมากหรือน้อยได้ตามความเหมาะสมและความต้องการของผู้ใช้ จุดเด่นๆของจุลินทรีย์หอมคาซาม่า ( จุลินทรีย์หอม-kasama ) : จุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสีย - ผลิตจากหัวเชื้อจุลินทรีย์โดยตรง ไม่ใช่ผลิตจากการหมักพืชผักหรือมะกรูดมะนาว เปลือกส้ม ซึ่งไม่เหมาะกับการบำบัดน้ำเสีย - เป็นจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียที่มีกลิ่นหอม เข้มข้นสูง แข็งแรง ไม่เก่าเก็บ ย่อยสลายของเสียและน้ำเสียได้ทันที ไม่ต้องรอนานเหมือนจุลินทรีย์ผงหรือจุลินทรีย์ก้อน ( อีเอ็มบอล ) - มีความต้านทาน ทนทานต่อสิ่งแวดล้อมที่วิกฤตได้ดี อยู่ได้ทั้งในสภาวะไร้ออกซิเจนหรือมีออกซิเจน - ดับกลิ่นห้องน้ำเหม็นได้รวดเร็วทันใจ มีกลิ่นหอมทันที บำบัดน้ำเน่าเสียได้ดี - เปลี่ยนกลิ่นเน่าเหม็นให้เป็นกลิ่นหอมได้รวดเร็วและทันใจ - ใช้ประโยชน์ทั้งการย่อยสลายของเสีย ( บำบัดน้ำเสีย ) และดับกลิ่นเน่าเหม็นจากการเน่าเสียของสารอินทรีย์ - ใช้งานได้หลากหลายกรณี ทั้งการบำบัดน้ำเสีย เติมบ่อเกรอะ ดับกลิ่นห้องน้ำเหม็น ดับกลิ่นบ่อบำบัดน้ำเสียส่งกลิ่นเหม็น ดับกลิ่นบ่อเกรอะส่งกลิ่นเหม็น ดับกลิ่นท่อน้ำทิ้งหรือท่อระบายน้ำส่งกลิ่นเหม็น ดับกลิ่นส้วมเหม็น ฯลฯ การนำจุลินทรีย์หอมคาซาม่า ( จุลินทรีย์หอม-kasama ) ไปใช้งานบำบัดน้ำเสีย การบำบัดน้ำเสียด้วยจุลินทรีย์หอมคาซาม่า เนื่องจากจุลินทรีย์หอมคษวาม่าของเราเป็นจุลินทรีย์หอม ใช้แล้วมีกลิ่นหอมทันที ใช้กับระบบบำบัดน้ำเสียได้ทุกๆระบบในประเทศไทย ในการนำจุลินทรีย์หอมคาซาม่าไปบำบัดน้ำเสียนั้นต้องดูปริมาณน้ำเสียว่ามีปริมาณกี่คิวหรือกี่ ลบม. และจะใช้ในจุดใดบ้างจึงจะเหมาะสม แต่โดยทั่วๆไปของระบบบำบัดน้ำเสียจะใช้จุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสียในจุดที่ 1 หรือบ่อที่ 1 นั่นเอง ซึ่งเป็นจุดที่รับน้ำเสียเป็นจุดแรกหรือบ่อแรก ถ้าน้ำเสียนั้นมีตะกอนจำนวนมากก็ควรใช้ฟิลเตอร์กรองหรือดักตะกอนไม่ให้ลงในบ่อน้ำเสีย เพื่อลดค่า SS ไปในตัว ถ้าระบบบำบัดน้ำเสียเป็นแบบเติมอากาศ จะมีบ่อรองรับน้ำเสียอย่างน้อย 3 บ่อด้วยกัน ให้เติมจุลินทรีย์หอมคาซาม่าในบ่อแรก บ่อที่ 2 เป็นบ่อเติมอากาศ ส่วนบ่อที่ 3 เป็นบ่อพักน้ำดีก่อนปล่อยทิ้งออกสู่สาธารณะสิ่งแวดล้อม อัตราส่วนการใช้จุลินทรีย์หอมคาซาม่า 1-2 ลิตร ต่อ 1 คิวน้ำเสีย หรือเพิ่มความเข้มข้นมากขึ้นได้ตามความเหมาะสม กรณีที่น้ำเสียวิกฤตมาก โดยการเติมจุลินทรีย์หอมคาซาม่า ( จุลินทรีย์หอม-kasama ) ลงในบ่อบำบัดเสียบ่อแรก อัตราส่วนจุลินทรีย์ : น้ำเสีย 1-2 ลิตร ต่อ น้ำเสีย 1 คิวหรือ 1 ลบม. (กรณีที่ไม่วิกฤตมาก ) แต่ถ้ากรณีที่น้ำเสียวิกฤตมากๆ ควรเพิ่มปริมาณจุลินทรีย์มากขึ้นตามปัญหา ควรหมั่นเติมจุลินทรีย์เรื่อยๆ เพื่อให้ระบบการย่อยสลายมีประสิทธิภาพในการบำบัดน้ำเสียอย่างน้อยเดือนละครั้ง ถ้าเป็นไปได้สัปดาห์ละครั้งยิ่งเป็นการดีต่อระบบ ซึ่งจะส่งผลทำให้จุลินทรีย์ในระบบไม่ลดน้อยลง เพราะโดยทั่วไปจุลินทรีย์ในระบบบางส่วนจะสลายตัวไปตามธรรมชาติ ในขณะที่ของเสียเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ จุลินทรีย์มีปริมาณน้อยอาจย่อยสลายไม่ทัน จึงส่งผลให้ระบบมีปัญหา เกิดน้ำเสียมากขึ้น ส่งกลิ่นเหม็นไปทั่วบริเวณ การแก้ไขปัญหานี้จึงต้องพึ่งจุลินทรีย์ ด้วยการเติมจุลินทรีย์ย่อยสลายของเสียเข้าไปในระบบ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการย่อยสลายของเสียดังกล่าวให้มากขึ้นและเร็วขึ้น บำบัดน้ำเสียอย่างไรให้ได้ผลดี ? วัตถุประสงค์ของการบำบัดน้ำเสีย เพื่อเปลี่ยนน้ำเสียให้เป็นน้ำดีก่อนปล่อยทิ้งออกสู่สิ่งแวดล้อม เพราะถ้าปล่อยน้ำเสียทิ้งออกสู่สิ่งแวดล้อมสาธารณะก็จะสร้างมลภาวะทั้งกลิ่นเน่าเหม็นของน้ำเสียและปัญหาอีกหลายอย่างที่ติดตามมาในภายหลัง ดังนั้น ถ้ามีน้ำเสียต้องทำการบำบัดก่อนปล่อยทิ้ง ในการบำบัดน้ำเสียและย่อยสลายของเสียต่างๆเป็นหน้าที่โดยตรงของจุลินทรีย์ย่อยสลาย ทุกๆระบบบำบัดน้ำเสียต้องพึ่งพาอาศัยจุลินทรีย์ทั้งนั้นในการบำบัด ไม่มีเว้นแม้กระทั่งเคมีบำบัด ขั้นตอนสุดท้ายก็ต้องพึ่งจุลินทรีย์อยู่ดี ในการบำบัดน้ำเสียให้ได้ผลดีนั้นต้องทำให้ถึง ทั้งการเติมจุลินทรีย์ให้กับระบบบำบัดต้องไม่น้อยหรือต้องมากกว่าปริมาณของเสียที่เกิดขึ้นจริงจึงจะได้ผลดีระบบจึงจะมีประสิทธิภาพ และต้องมีความต่อเนื่อง ( เติมจุลินทรีย์อย่างต่อเนื่องเมื่อปริมาณจุลินทรีย์ลดลง ) จะมีจุลินทรีย์บางส่วนที่จะสลายไปตามธรรมชาติ การเพิ่มปริมาณจุลินทรีย์อยู่เรื่อยๆเป็นสิ่งที่พึงปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง ถ้าต้องการให้ระบบบำบัดน้ำเสียสมบูรณ์และมีประสิทธิภาพในการบำบัดน้ำเสียให้ได้ดี ถ้าเป็นระบบบำบัดน้ำเสียแบบเติมอากาศก็ให้เติมอากาศอย่างต่อเนื่องเช่นกัน ซึ่งจะเป็นการเสริมประสิทธิภาพการบำบัดน้ำเสียระหว่างกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนกับกลุ่มจุลินทรีย์ที่ไม่ใช้ออกซิเจน ( จุลินทรีย์อีเอ็ม หรือ em )
ที่นี่..จำหน่ายจุลินทรีย์หอมคาซาม่า จุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสีย ซึ่งเป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีอยู่ในธรรมชาติที่เราสังเคราะห์ขึ้นมาเพื่อประโยชน์ในการย่อยสลายของเสีย (บำบัดน้ำเสีย) เราเป็นผู้ผลิตจุลินทรีย์หอมคาซาม่าโดยตรง ไม่ใช่ตัวแทนจำหน่ายแต่ประการใด เราให้คำแนะนำและคำปรึกษากับลูกค้าทุกๆท่านในการนำไปประยุกต์ใช้งานในแต่ด้าน ทั้งงานบำบัดน้ำเสีย งานดับกลิ่นน้ำเน่าเหม็นในบ่อบำบัดน้ำเสีย ดับกลิ่นเน่าเหม็นในบ่อเกรอะ การดับกลิ่นห้องน้ำเหม็น ดับกลิ่นโรงงานยางพาราส่งกลิ่นเหม็น บำบัดน้ำเสียในโรงงานทั่วๆไป บำบัดน้ำเสียตามอาคารสถานที่ต่างๆได้ทุกๆระบบบำบัด ใช้จุลินทรีย์หอมคาซาม่าเพียงอย่างเดียวได้ประโยชน์อย่างน้อยที่สุด 2 ประการ คือ 1. นำไปใช้ในการบำบัดน้ำเสีย(ย่อยสลายของเสียต่างๆ)ได้ทุกๆระบบบำบัด โดยเฉพาะระบบบำบัดที่มีปัญหาจุลินทรีย์ย่อยสลายของเสียในระบบมีปริมาณน้อย หรือระบบที่ค่ามาตรฐานน้ำทิ้งไม่ผ่านเกณฑ์บ่อยๆ ระบบบำบัดที่มีปัญหาทางด้านเทคนิค ฯลฯ 2. นำไปใช้ในการบำบัดกลิ่น(ดับกลิ่น)ไม่พึงประสงค์ต่างๆทุกๆชนิดและทุกๆประเภทที่เกิดจากสารอินทรีย์ เช่น กลิ่นไม่พึงประสงค์ต่างๆในห้องน้ำ ห้องส้วม กลิ่นบ่อเกรอะ กลิ่นในฟาร์มสัตว์เลี้ยงทุกชนิด ฯลฯ จุลินทรีย์หอมคาซาม่า การทำงานของจุลินทรีย์หอมคาซาม่าจะครอบคลุมทั้งสองเรื่องนี้ นำไปใช้งานบำบัดน้ำเสียจะได้ประโยชน์ทั้งการบำบัดน้ำเสีย(ย่อยสลายของเสียต่างๆในน้ำเสีย)และการบำบัดกลิ่น(ดับกลิ่น) ในเวลาเดียวกันทันที เป็นจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียที่มีกลิ่นหอม จึงออกมาเป็นจุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสีย โปรดระวังของลอกเลียนแบบและแอบอ้างไปจากเรา ซึ่งเราไม่ได้อนุญาตให้ใครลอกเลียนแบบทั้งเนื้อหาและสาระต่างๆในเว็บไซต์ ผิดกฎหมายลิขสิทธิ์มีโทษทั้งอาญาและแพ่งทั้งจำและปรับ จุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสีย ราคา ราคาจำหน่ายแกลลอนละ 1,200 บาท ขนาดบรรจุ แกลลอน 20 ลิตร จัดส่งฟรีๆทั่วประเทศ ให้คำแนะนำในการบำบัดน้ำเสีย ระบบบำบัดน้ำเสีย การแก้ไขปัญหาทางเทคนิคในระบบบำบัดน้ำเสีย ปรึกษาได้ฟรีๆ
ต้องการจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย ใช้จุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสีย จุลินทรีย์หอมคาซาม่า จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียที่มีกลิ่นหอม เน้นความแข็งแกร่งและเข้มข้นสูง ไม่มีเก่าเก็บ บำบัดน้ำเสียและดับกลิ่นเน่าเหม็นได้รวดเร็ว ประการสำคัญคือ กลิ่นหอมทันทีที่นำไปใช้ดับกลิ่นห้องน้ำ หรือดับกลิ่นบ่อเกรอะ ดับกลิ่นบ่อบำบัดน้ำเสียที่ส่งกลิ่นเหม็น หรือฟาร์มปศุสัตว์อย่างฟาร์มสุกรที่ส่งกลิ่นเหม็นของมูล ดูแต่ละหัวข้อ กรุณาคลิกที่ลิ้งค์ด้านล่างนี้
การบำบัดน้ำเสีย/ระบบบำบัดน้ำเสียของคอนโดมิเนียม กดดูที่นี่.. วิธีดับกลิ่นน้ำเน่าเหม็นและน้ำเน่าเสีย คลิกดูที่นี่... ดับกลิ่นห้องน้ำส่งกลิ่นเหม็น คลิกดูที่นี่... ส้วมเหม็นทำอย่างไร? แก้ไขอย่างไร ? คลิกดูที่นี่.. ดับกลิ่นบ่อส้วมเหม็น บ่อส้วมมีกลิ่น คลิกดูที่นี่... ชักโครกส่งกลิ่นเหม็น ท่อน้ำทิ้งมีกลิ่นเหม็น บ่อเกรอะส่งกลิ่นเหม็น คลิกที่นี่.. ดับกลิ่นส้วมเหม็น/ดับกลิ่นห้องน้ำเหม็น/ดับกลิ่นบ่อส้วมเหม็น คลิกที่นี่.. ดับกลิ่นสุนัขและสัตว์เลี้ยงทุกๆชนิด คลิกดูที่นี่.. การแก้ปัญหาน้ำเสียและกลิ่นในโรงงานขนมจีนทุกๆแห่ง คลิกดูที่นี่.. การดูแลและบำรุงรักษา/การบริหารจัดการระบบบำบัดน้ำเสีย คลิกดูที่นี่.. วิธีลดค่า BOD , SS , TDS ในโรงงานปลากระป๋อง คลิกดูที่นี่.. ดับกลิ่นและบำบัดน้ำเสียในล้งปลาทุกๆแห่ง คลิกดูที่นี่.. การบำบัดน้ำเสียของคอนโดมิเนียม คลิกดูที่นี่.. จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียทำงานย่อยสลายของเสียอย่างไร คลิกดูที่นี่.. สัญญาณจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียในบ่อบำบัดมีปริมาณน้อย คลิกดูที่นี่.. วิธีการกำจัดสารอินทรีย์ที่เจือปนอยู่ในน้ำเสีย คลิกดูที่นี่.. การบำบัดน้ำเสียโดยทั่วไป คลิกดูที่นี่.. การบำบัดน้ำเสียของแต่ละหน่วยงาน คลิกดูที่นี่.. ระบบบำบัดน้ำเสีย / การบำบัดน้ำเสีย คลิกดูที่นี่.. บำบัดน้ำเสีย / วิธีบำบัดน้ำเสีย คลิกดูที่นี่.. บำบัดน้ำเสีย/ระบบบำบัดน้ำเสีย คลิกดูที่นี่.. การบำบัดน้ำเสีย/การดับกลิ่นด้วยจุลินทรีย์หอมคาซาม่า คลิกที่นี่.. ประโยชน์ของการใช้จุลินทรีย์หอมคาซาม่าในบ่อเกรอะบ่อส้วม คลิกที่นี่.. จุลินทรีย์ 2 in 1 (จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย & จุลินทรีย์ดับกลิ่น)คลิกดูที่นี่.. ทำไมต้องเติจุลินทรีย์ลงไปในระบบบำบัดหรือบ่อบำบัด คลิกดูที่นี่.. จุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสีย & จุลินทรีย์หอมดับกลิ่น คลิกดูที่นี่.. จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย ซื้อที่ไหน คลิกที่นี่.. วิธีดับกลิ่นส้วมเต็ม(ส้วมเหม็น) คลิกดูที่นี่... ดับกลิ่นคาวปลาในโรงงาน / ดับกลิ่นคาวเลือดปลา คลิกดูที่นี่.. เลี้ยงหมูแบบเกษตรอินทรีย์ชีวภาพ คลิกดูที่นี่.. ดับกลิ่นบ่อส้วมเหม็น( ดับกลิ่นบ่อเกรอะเหม็น ) คลิกดูที่นี่.. จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย คลิกดูที่นี่... จุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสีย คลิกดูที่นี่.... จุลินทรีย์ดับกลิ่น คลิกดูข้อมูลที่นี่... จุลินทรีย์หอมดับกลิ่น / จุลินทรีย์หอมกำจัดกลิ่น คลิกดูข้อมูลที่นี่.... จุลินทรีย์หอม คลิกดูข้อมูลที่นี่.... น้ำยาดับกลิ่น / น้ำยากำจัดกลิ่น ที่ไม่ใช่สารเคมี คลิกที่นี่.. ขายจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียที่มีกลิ่นหอม คลิกที่นี่.. การบำบัดน้ำเสียและดับกลิ่นในบ่อเกรอะ คลิกที่นี่... วิธีการลดค่า BOD,SS,TDS ในเบื้องต้นแบบง่ายๆ คลิกที่นี่.. จุลินทรีย์ดับกลิ่นและบำบัดน้ำเสียในฟาร์มเลี้ยงหมู คลิกที่นี่.. จุลินทรีย์ดับกลิ่นขยะเหม็น คลิกที่นี่.. จุลินทรีย์ที่ใช้ในการบำบัดน้ำเสีย คลิกดูที่นี่.. จำหน่ายจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย/ขายจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย คลิกที่นี่.. em บำบัดน้ำเสีย/ em หอมบำบัดน้ำเสีย คลิกที่นี่.. em ดับกลิ่น / em หอมดับกลิ่น คลิกที่นี่.. em ดับกลิ่นส้วม ดับกลิ่นบ่อส้วมเหม็น คลิกดูที่นี่.. จุลินทรีย์ดับกลิ่นส้วมดับกลิ่นบ่อส้วมเหม็น คลิกดูที่นี่.. จุลินทรีย์ดับกลิ่นห้องน้ำ คลิกดูที่นี่... วิธีดับกลิ่นห้องน้ำเหม็น/ห้องน้ำมีกลิ่นแรง คลิกที่นี่... จุลินทรีย์ดับกลิ่นบ่อเกรอะ/ดับกลิ่นห้องน้ำ/บำบัดน้ำเสีย คลิกที่นี่.. การบริหารจัดการบำบัดน้ำเสียโดยรวมของระบบบำบัด คลิกที่นี่... จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย/จุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสีย คลิกที่นี่... ปัญหาระบบบำบัดน้ำเสีย & ปัญหาการบำบัดน้ำเสีย คลิกที่นี่... ปัญหาค่ามาตรฐานน้ำทิ้งไม่ผ่านเกณฑ์มาจากสาเหตุใด ? คลิกดูที่นี่... ระบบบำบัดน้ำเสียของอาคารสำนักงานและอาคารชุดทั่วๆไป คลิกที่นี่... ค่า BOD และค่า DO มีความสำคัญอย่างไรต่อระบบบำบัดน้ำเสีย ? คลิกที่นี่... ลดค่า BOD ทำอย่างไร ? อยากรู้ คลิกดูที่นี่.... การบริหารจัดการบำบัดน้ำเสียในโรงงานอุตสาหกรรม คลิกดูที่นี่.. การบริหารจัดการบ่อบำบัดน้ำเสียและระบบบำบัดน้ำเสียของคอนโด คลิกที่นี่.. เพิ่มประสิทธิภาพบ่อบำบัดน้ำเสียและระบบบำบัดน้ำเสียทุกๆระบบ คลิกที่นี่... จุลินทรีย์หอม kasama ( จุลินทรีย์หอมคาซาม่า ) คลิกที่นี่.. จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย คืออะไร ? คลิกดูข้อมูลที่นี่.... จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียมีความสำคัญอย่างไร ? อยากรู้คลิกดูข้อมูลที่นี่... สุกร (( กฎหมายการบำบัดน้ำเสีย คลิกดูที่นี่..))
|