จุลินทรีย์หอมคาซาม่าได้เพิ่มกลุ่มจุลินทรีย์ไนตริฟลายอิ้งลดค่า TKN แอมโมเนีย ไนเตรท ไนไตรท์ โดยเฉพาะ ดูจุดประสงค์ของระบบบำบัดน้ำเสียทุกๆระบบที่บำบัดน้ำเสียด้วยจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย
ReadyPlanet.com
จุดประสงค์ของระบบบำบัดน้ำเสียทุกๆระบบ

    

                  

จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย ( จุลินทรีย์ที่มีประโยชนชน์ในการย่อยสลายของเสีย ) คือสิ่งที่สำคัญมากที่สุดในการบำบัดน้ำเสียและในระบบบำบัดน้ำเสียทุกๆระบบ เป็นตัวจักรที่สำคัญและมีบทบาทมากที่สุดในการบำบัดน้ำเสียจากทุกๆแหล่งและทุกๆระบบบำบัด

  วัตถุประสงค์ของการบำบัดน้ำเสีย 

เพื่อเปลี่ยนน้ำเสียเป็นน้ำดี หรือ การบำบัดน้ำเสียให้เป็นน้ำดี ซึ่งต้องพึ่งพาและอาศัยจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการบำบัดและย่อยสลายของเสียต่างๆในน้ำเสีย ระบบบำบัดน้ำเสียทุกระบบล้วนต้องการดึงจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในธรรมชาติมาใช้บำบัดน้ำเสียทั้งสิ้น ส่วนระบบใดจะดึงจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ได้มากหรือน้อยยังอยู่กับคุณภาพของแต่ละระบบบำบัดน้ำเสียที่ออกแบบไว้ น้ำเสียจะมีทั้งสารอินทรีย์และสารอนินทรีย์ปนเปื้อนอยู่ เป็นหน้าที่ของกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายและบำบัดน้ำเสียโดยตรง นี่คือบทบาทและหน้าที่ของกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการบำบัดน้ำเสีย การเติมออกซิเจนลงในน้ำเสียเป็นการเพิ่มออกซิเจนละลายในน้ำเสีย เพื่อให้กลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลักใช้ทำปฏิกิริยาในการบำบัดน้ำเสียและย่อยสลายของเสีย นี่คือความสำคัญของกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการบำบัดน้ำเสียและย่อยสลายของเสีย ของเสียและน้ำเสียไม่ล้นโลกเพราะจุลินทรีย์กลุ่มนี้ น้ำเสียสามารถทำให้สิ่งมีชีวิตทั้งพืชและสัตว์ตายได้ทุกเมื่อ การบำบัดน้ำเสียก่อนปล่อยทิ้งออกสู่สิ่งแวดล้อมสาธารณะจึงเป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่งสำหรับทุกๆองค์กร ทุกอาคารบ้านเรือน

ระบบบำบัดน้ำเสียทุกๆระบบ ไม่ว่าจะลงทุนจำนวนมากหรือลงทุนน้อย วัตถุประสงค์ของการทำระบบบำบัดน้ำเสียหรือสร้างระบบบำบัดน้ำเสียก็คือ การนำจุลินทรีย์หรือดึงจุลินทรีย์ในธรรมชาติมาใช้ประดยชน์ในการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียนั่นเอง เพราะบรรดาของเสียทั้งหมดทุกๆอย่างในโลกใบนี้ ล้วนต้องพึ่งพาและอาศัยจุลินทรีย์ย่อยสลายทั้งสิ้น แต่ต้องเป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์เท่านั้น ไม่ว่าจะเป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาหรือกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ที่ไม่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยา ล้วนส่งผลดีต่อการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียทั้งนั้น ทุกๆระบบบำบัดน้ำเสียล้วนต้องการปริมาณจุลินทรีย์ในระบบให้มีมากพอที่จะบำบัดน้ำเสียและย่อยสลายของเสียที่เกิดขึ้น การบำบัดน้ำเสียจะทำได้ดีมากหรือน้อยจึงขึ้นอยู่กับปริมาณจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียที่มีอยู่ในระบบเป็นหลัก ถ้ามีปริมาณจุลินทรีย์ย่อยสลายมาก ( มากกว่าของเสีย ) ของเสียต่างๆในน้ำเสียก็จะถูกย่อยสลายได้สมบูรณ์มากขึ้นตามไปด้วย 

สิ่งที่เป็นอันตรายต่อกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียในระบบบำบัดน้ำเสียก็คือ สารเคมีต่างๆบางชนดที่มีฤทธิ์กัดกร่อนสูงและทำลายชีวิตของจุลินทรีย์ในระบบบำบัดน้ำเสีย ดังนั้น จึงไม่ควรนำสารเคมีที่เป็นอันตรายต่อจุลินทรีย์ลงไปในระบบบำบัดน้ำเสีย ซึ่งอาจทำร้ายจุลินทรีย์ทั้งระบบตายได้ทั้งหมด จะส่งผลเสียต่อระบบบำบัดน้ำเสียโดยตรง

ถ้าปริมาณจุลินทรีย์ย่อยสลายในระบบบำบัดน้ำเสียมีน้อยจะเกิดปัญหาอะไรขึ้นบ้าง?

ปัญหาที่ตามมาจากการมีปริมาณจุลินทรีย์ย่อยสลายในระบบบำบัดน้ำเสียมีน้อยก็คือ ปัญหาในเรื่องของกลิ่นไม่พึงประสงค์ต่างๆ นี้คือเครื่องชี้วัดปริมาณของจุลินทรีย์ในระบบบำบัดน้ำเสียได้เป็นอย่างดี ระบบบำบัดน้ำเสียที่ล่มหรือล้มเหลวอันอาจเกิดจากปัญหาทางเทคนิค อาจทำให้เหม็นทั้งระบบได้เช่นกัน เพราะปริมาณจุลินทรีย์ในระบบลดลงอย่างรวดเร็ว ในขณะที่ปริมาณของเสียและน้ำเสียมีมากขึ้นอย่างต้อเนื่อง ไม่มีจุลินทรีย์มาบำบัดและย่อยสลายของเสียต่างๆในน้ำเสียนั้นๆ นี่คือความสำคัญของกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในระบบบำบัดน้ำเสียทุกๆระบบ

จุลินทรีย์ที่ใช้ในการบำบัดน้ำเสียทุกๆระบบบำบัด

อย่างที่กล่าวมาแล้วว่า ในการบำบัดน้ำเสียและย่อยสลายของเสียต่างๆต้องใช้จุลินทรีย์ที่มีคุณสมบัติในการย่อยสลาย ซึ่งกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียต่างๆยังจำแนกออกเป็น 2 กลุ่มดังต่อไปนี้. -

1. กลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสีย ( มีคุณสมบัติในการย่อยสลายของเสียต่างๆ ) ที่ใช้ออกซิเจนในการดำรงชีพและการเจริญเติบโตขยายเซลล์ รวมถึงการนำออกซิเจนไปใช้ในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสีย ( Aerobic  Bacteria ) จุลินทรีย์กลุ่มนี้จะขาดออกซิเจนไม่ได้ หรือออกซิเจนมีน้อยก็มีผลต่อการเจริญเติบโต ออกซิเจนและอาหารจะเป็นสิ่งจำเป็นมากสำหรับจุลินทรีย์กลุ่มนี้ ถ้าขาดออกซิเจนก็ทำงานไม่ได้และตายได้ตลอดเวลา ดังนั้น ในระบบบำบัดน้ำเสีย โดยเฉพาะระบบบำบัดน้ำเสียแบบเติมอากาศ ( Activated Sludge : AS ) จะต้องเติมอากาศออกซิเจนลงไปในน้ำเสีย เพื่อเพิ่มออกซิเจนในน้ำเสียนั้นๆให้กับจุลินทรีย์กลุ่มนี้เพื่อนำไปใช้ในการดำรงชีพเจริญเติบโต และนำไปใช้ในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียต่างๆในน้ำเสีย จุลินทรีย์กลุ่มนี้เป็นที่นิยมมากที่สุดในการนำไปใช้บำบัดน้ำเสียในทุกๆระบบบำบัดในปัจจุบัน สาเหตุเพราะสามารถดึงจากธรรมชาติมาใช้งานได้ง่าย แต่มีข้อเสียตรงที่ควบคุมยาก ต้องออกแบบระบบบำบัดและสร้างสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสมกับการดำรงชีพจุลินทรีย์กลุ่มนี้จึงจะอยู่ได้และทำงานย่อยสลายของเสียได้ดี ถ้ามีปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อจุลินทรีย์กลุ่มนี้เมื่อใด จะส่งผลให้จุลินทรีย์ในระบบบำบัดหรือในบ่อบำบัดลดลงทันทีหรืออาจตายยกบ่อบำบัดได้ตลอดเวลา เช่น ในน้ำเสียมีออกซิเจนต่ำมาก ( ค่า DO ต่ำ ) จุลินทรีย์กลุ่มนี้อาจตายยกบ่อได้หรือเหลือน้อยมาก  หรือกรณีที่ค่า pH สูงมาก หรือ ต่ำมากๆ จะส่งผลให้จุลินทรีย์กลุ่มนี้ตายยกบ่อได้ทันที นี้คือข้อจำกัดและเงื่อนไขของจุลินทรีย์กลุ่มนี้บางส่วน ซึ่งค่อนข้างอ่อนไหวต่อสภาวะแวดล้อมในระบบบำบัด  

2. กลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสีย ( มีคุณสมบัติในการย่อยสลายของเสียต่างๆ ) ที่ไม่ใช้ออกซิเจนในการดำรงชีพและการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสีย ( Anaerobic  Bacteria ) จุลินทรีย์กลุ่มนี้จะมีความเหมือนบางประการกับจุลินทรีย์กลุ่มแรกก็คือ มีคุณสมบัติในการย่อยสลายของเสียต่างๆได้เหมือนกัน  แต่จะมีความแตกต่างในเรื่องของการดำรงชีพและการทำปฏิกิริยาย่อยสลายที่ไม่ใช้ออกซิเจนเหมือนกลุ่มแรก รวมทั้งความสามารถทนกับแรงต้านทานในสภาวะแวดล้อมที่วิกฤตได้ดี ในน้ำเสียไม่มีออกซิเจนเลย หรือ ค่า pH ต่ำมากหรือสูงมาก จุลินทรีย์กลุ่มนี้ก็สามารถอยู่ได้และทำงานย่อยสลายได้ตามปกติ ซึ่งจะแตกต่างกับจุลินทรีย์กลุ่มแรก ( กลุ่มที่ใช้ออกซิเจน ) ที่ไม่สามารถต้านทานสภาวะวิกฤตได้ นี่คือความแตกต่างบางส่วนของจุลินทรีย์กลุ่มนี้กับจุลินทรีย์กลุ่มที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลัก แต่ข้อเสียหรือจุดด้อยของจุลินทรีย์กลุ่มนี้ก็คือ ดึงมาใช้งานได้ค่อนข้างยาก ไม่ค่อยรวมกันเป็นกลุ่มก้อน ในธรรมชาติควบคุมได้ยากเช่นเดียวกันกับจุลินทรีย์กลุ่มแรก ดังนั้น จึงมีผู้ที่ทำการสังเคราะห์จุลินทรีย์กลุ่มนี้ขึ้นมาไว้ในจุดเดียวกันเป็นกลุ่มก้อนปริมาณมากเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ หนึ่งในประโยชน์ที่นำไปใช้นั้นก็คือ การนำไปใช้ในการบำบัดน้ำเสียย่อยสลายของเสีย จุลินทรีย์กลุ่มนี้สังเคราะห์ขึ้นในห้องปฏิบัติการจะได้ความหนาแน่นปริมาณจุลินทรีย์มากตามที่ต้องการ ซึ่งขั้นตอนต่างๆในการสังเคราะห์รวมกลุ่มจุลินทรีย์กลุ่มนี้จะทำได้ค่อนข้างยุ่งยากกว่าจุลินทรีย์กลุ่มแรก ( ที่ใช้ออกซิเจน ) ที่สามารถดึงมาใช้งานได้ง่ายกว่ากลุ่มนี้ ( กลุ่มที่ไม่ใช้ออกซิเจน ) นี่คือ ความแตกต่างของจุลินทรีย์ย่อยสลายทั้งสองกลุ่มนี้บางส่วน

  ในกระบวนการบำบัดน้ำเสียขั้นตอนสุดท้าย จะพึ่งพาและอาศัยจุลินทรีย์ทั้งสองกลุ่มนี้ ( กลุ่มที่ใช้ออกซิเนและกลุ่มที่ไม่ใช้ออกซิเจน ) เป็นตัวแปรเปลี่ยนสถานะของสสารต่างๆ ( ของเสีย ) ที่เจือปนและปนเปื้อนอยู่ในน้ำเสียไปเป็น  =>>  น้ำ +  พลังงาน  +  CO2  ตามสมการจำลองด้านล่างนี้

     

จากสมการจำลองด้านบนจะเห็นได้ว่า  จุลินทรีย์จะเข้าทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียและแปรสถานะของเสียไปเป็น น้ำ พลังงานและก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในขั้นตอนสุดท้าย ที่สุดของที่สุดของปฏิกิริยาก็คือไม่เหลืออะไรเลย ( ว่างเปล่า ) แต่ในการย่อยสลายของเสียเหล่านี้ต้องใช้ระยะเวลาที่แตกต่างกันออกไป ของเสียที่มีขนาดเล็กๆก็จะใช้ระยะเวลาในการย่อยสลายได้รวดเร็ว แต่ถ้าเป็นของเสียที่มีขนาดใหญ่ชิ้นใหญ่ ก็จะต้องใช้เวลาในการย่อยสลายนานขึ้น อาจจะเป็นปีหรือหลายร้อยปีเหมือนการย่อยสลายจำพวกพลาสติกก็เป็นไปได้ ดังนั้น ในการบำบัดน้ำเสียที่ใช้จุลินทรีย์ในการย่อยสลายของเสียจึงต้องมีการบำบัดในขั้นต้นก่อน นั่นก็คือ การคิดแยกของเสียที่มีขนาดใหญ่ออกจากระบบบำบัดก่อน เพื่อให้เหลือเฉพาะของเสียที่มีขนาดเล็กที่จุลินทรีย์สามารถย่อยสลายได้อย่างรวดเร็ว นี่คือ กระบวนการบำบัดน้ำเสียที่ใช้จุลินทรีย์ย่อยสลายของเสีย  บรรดาของเสียต่างๆทั้งหมดบนโลกใบนี้ ล้วนต้องพึ่งพาและอาศัยจุลินทรีย์กลุ่มที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายทั้งสิ้น ไม่ว่าจะเป็นกลุ่มที่ใช้ออกซิเจนและไม่ใช้ออกซิเจนที่สามารถทำงานย่อยสลายของเสียต่างๆร่วมกันได้

 

  นี่คือที่มาของจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียหรือจุลินทรีย์ที่ใช้ในการบำบัดน้ำเสีย ซึ่งมีอยู่ในธรรมชาติดิน น้ำ และอากาศ แต่อยู่แบบกระจัดกระจายไม่รวมกันเป็นกลุ่มก้อน ดังนััน จึงต้องมีการออกแบบระบบและสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสม เพื่อดึงจุลินทรีย์เหล่านี้มาใช้งานในการบำบัดน้ำเสียย่อยสลายของเสียในระบบบำบัด  การบำบัดน้ำเสียและระบบบำบัดน้ำเสียจะมีประสิทธิภาพมากหรือน้อยจึงขึ้นอยู่กับจุลินทรีย์ย่อยสลายในระบบบำบัดเป็นหลัก ค่ามาตรฐานน้ำทิ้งจะผ่านเกณฑ์กำหนดหรือไม่ผ่านเกณฑ์กำหนดก็อยู่ตรงที่การควบคุมจุลินทรีย์ย่อยสลายได้ดีหรือไม่

มีปัญหาระบบบำบัดน้ำเสียไม่สมบูรณ์ ระบบบำบัดน้ำเสียที่มีอยู่ยังมีปัญหาจุลินทรีย์ย่อยสลายของเสียมีปริมาณน้อย ซึ่งสังเกตได้จากการมีกลิ่นของน้ำเสียเกิดขึ้นบ่อยๆ แก้ปัญหาเหล่านี้ด้วย จุลินทรีย์หอมคาซาม่า ( จุลินทรีย์หอม kasama ) จุลินทรีย์หอมที่ออกแบบมาเพื่อบำบัดน้ำเสียและกำจัดกลิ่นโดยเฉพาะ

เราคือผู้ผลิตและจำหน่ายจุลินทรีย์หอมคาซาม่า จุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสีย ขายจุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสียชนิดไม่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียรวมถึงการกำจัดกลิ่นเน่าเหม็น ซึ่งเหมาะกับน้ำเสียที่มีค่าออกซิเจนในน้ำเสียต่ำหรือแทบไม่มีออกซิเจนละลายอยู่ในน้ำเสียเลย ( ค่า DO น้อยมากหรือแทบไม่มี ) ซึ่งจะส่งผลให้น้ำเสียวิกฤตมากยิ่งขึ้น เนื่องจากกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลักในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียมีน้อยหรือแทบไม่มีเลยในน้ำเสียนั้น กลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนจะทำงานได้ดีก็ต่อเมื่อในน้ำเสียนั้นมีออกซิเจนที่มากพอสำหรับใช้ในการสันดาปย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสีย จึงเป็นที่มาของการเติมอากาศออกซิเจนลงไปในน้ำเสียนั่นเอง ซึ่งการบำบัดน้ำเสียส่วนใหญ่ในประเทศไทยนิยมใช้วิธีการเติมอากาศ แต่ในบางกรณีหรือน้ำเสียในบางแห่ง ปริมาณน้ำเสียอาจจะมากกว่าปริมาณจุลินทรีย์ที่เข้าไปย่อยสลาย ซึ่งสังเกตได้จากค่าพารามิเตอร์ที่ยังคงไม่ได้ตามเกณฑ์มาตรฐาน  ดังนั้น  จึงหาทางออกด้วยวิธีการเติมจุลินทรีย์ย่อยสลายกลุ่มที่ไม่ใช้ออกซิเจน ( จุลินทรีย์อีเอ็ม )เข้าไปในระบบบำบัดน้ำเสีย ซึ่งกลุ่มจุลินทรีย์อีเอ็มนี้จะทำหน้าที่ได้คล้ายๆกันกับกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจน และสามารถทำงานร่วมกันได้ทั้งสองกลุ่มในเวลาเดียวกัน ซึ่งเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพในการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียรวมไปถึงการกำจัดกลิ่นไม่พึงประสงค์ต่างๆในบ่อบำบัดน้ำเสีย จุลินทรีย์หอมคาซาม่าได้พัฒนาต่อมาจากกลุ่มจุลินทรีย์อีเอ็ม ( EM ) อีกขั้นหนึ่ง เพื่อตอบโจทย์จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียมีกลิ่นหอม ใช้บำบัดน้ำเสียจะมีกลิ่นหอมทันที

จุลินทรีย์หอมคาซาม่า ( จุลินทรีย์หอม-Kasama ) ประกอบไปด้วยจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์หลากหลายกลุ่มดังต่อไปนี้

จุลินทรีย์หอมคาซาม่าเป็นการรวมกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโชน์และมีประสิทธิภาพมารวมอยู่ในที่เดียวกัน มีจุลินทรีย์รวมอยู่ 5 แฟมิลี่ 10 จีนัส 80 สปีชีส์ ดังต่อไปนี้

1. กลุ่มจุลินทรีย์สังเคราะห์แสง (Photosynthetic bacteria)  
จุลินทรีย์สังเคราะห์แสง (photosybthetic bacteria; PSB) เป็นจุลินทรีย์หรือแบคทีเรียพบกระจายอยู่ทั่วไปในธรรมชาติ  บทบาทของจุลินทรีย์สังเคราะห์แสง มีความสำคัญในกระบวนการน ำก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ไปใช้ (CO2 - assimilation) และการตรึงไนไตรเจน (nitrogen fixation) นอกจากนี ยังมีบทบาทสำคัญในห่วงโซ่อาหารซึ่งสัตว์ขนาดเล็ก ปลา กุ้ง หอย และปู สามารถนำจุลินทรีย์สังเคราะห์แสงมาใช้เป็นอาหารได้ นอกจากนี้ ในน้ำเสียจากบ้านเรือนและน้ำเสียจากการทำปศุสัตว์สามารถบำบัดด้วยจุลินทรีย์สังเคราะห์แสงได้อย่างมีประสิทธิภาพ 
 

2. กลุ่มจุลินทรีย์ผลิตกรดแลคติก (Lactic acid bacteria)  

3. กลุ่มจุลินทรีย์ตรึงไนโตเจน (Nitrogen fixing bacteria)   
4. กลุ่มจุลินท
รีย์แอคทิโนมัยซีทส์ (Actenomycetes) 

 จุลินทรีย์กลุ่มนี้เป็นตัวทำการรีไซเคิลอินทรีย์วัตถุจากซากพืชซากสัตว์ ให้เป็นสารใหม่กลับคืนสู่สิ่งแวดล้อมและเป็นแบคทีเรียที่มีประโยชน์ในหลายด้าน
5. กลุ่มจุลินทรีย์ยีสต์ (Yeasts)
 

 จุลินทรีย์หอม-Kasama เป็นการรวมกลุ่มของจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์มาใช้งานหลักๆดังต่อไปนี้ .-

1. ใช้ในการบำบัดน้ำเสียตามแหล่งต่างๆ เช่น เติมบ่อบำบัดน้ำเสีย  เติมบ่อเกรอะ

2.  ใช้ประโยชน์ในการดับกลิ่นหรือกำจัดกลิ่นไม่พึงประสงค์ต่างๆ เช่น กลิ่นเน่าเหม็นจากสารอินทรีย์ตามแหล่งต่างๆ  กลิ่นคาวจากพืชและสัตว์ 

จุดเด่นๆของจุลินทรีย์หอมคาซาม่า ( จุลินทรีย์หอม-kasama  )

- ผลิตจากหัวเชื้อจุลินทรีย์โดยตรง ไม่ใช่ผลิตจากการหมักพืชผักหรือมะกรูดมะนาว เปลือกส้ม ซึ่งไม่เหมาะกับการบำบัดน้ำเสีย 

- เป็นจุลินทรีย์ที่มีกลิ่นหอม เข้มข้นสูง แข็งแรง  ไม่เก่าเก็บ ย่อยสลายของเสียและน้ำเสียได้ทันที ไม่ต้องรอนานเหมือนจุลินทรีย์ผงหรือจุลินทรีย์ก้อน ( อีเอ็มบอล )

- ดับกลิ่นห้องน้ำเหม็นได้รวดเร็วทันใจ มีกลิ่นหอมทันที บำบัดน้ำเน่าเสียได้ดี

- เปลี่ยนกลิ่นเน่าเหม็นให้เป็นกลิ่นหอมได้รวดเร็วและทันใจ

- ใช้ประโยชน์ทั้งการย่อยสลายของเสีย ( บำบัดน้ำเสีย ) และดับกลิ่นเน่าเหม็นจากการเน่าเสียของสารอินทรีย์ 

 - ใช้งานได้หลากหลายกรณี ทั้งการบำบัดน้ำเสีย เติมบ่อเกรอะ ดับกลิ่นห้องน้ำเหม็น ดับกลิ่นบ่อบำบัดน้ำเสียส่งกลิ่นเหม็น ดับกลิ่นบ่อเกรอะส่งกลิ่นเหม็น ดับกลิ่นท่อน้ำทิ้งหรือท่อระบายน้ำส่งกลิ่นเหม็น ดับกลิ่นส้วมเหม็น ฯลฯ

การนำจุลินทรีย์หอมคาซาม่า ( จุลินทรีย์หอม-kasama ) ไปใช้งานบำบัดน้ำเสีย

การบำบัดน้ำเสียด้วยจุลินทรีย์หอมคาซาม่า

เนื่องจากจุลินทรีย์ของเราเป็นจุลินทรีย์หอม ใช้แล้วมีกลิ่นหอมทันที ใช้กับระบบบำบัดน้ำเสียได้ทุกๆระบบในประเทศไทย ในการนำจุลินทรีย์หอมคาซาม่าไปบำบัดน้ำเสียนั้นต้องดูปริมาณน้ำเสียว่ามีปริมาณกี่คิวหรือกี่ ลบม. และจะใช้ในจุดใดบ้างจึงจะเหมาะสม แต่โดยทั่วๆไปของระบบบำบัดน้ำเสียจะใช้จุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสียในจุดที่ 1 หรือบ่อที่ 1 นั่นเอง ซึ่งเป็นจุดที่รับน้ำเสียเป็นจุดแรกหรือบ่อแรก ถ้าน้ำเสียนั้นมีตะกอนจำนวนมากก็ควรใช้ฟิลเตอร์กรองหรือดักตะกอนไม่ให้ลงในบ่อน้ำเสีย เพื่อลดค่า SS ไปในตัว ถ้าระบบบำบัดน้ำเสียเป็นแบบเติมอากาศ จะมีบ่อรองรับน้ำเสียอย่างน้อย 3 บ่อด้วยกัน ให้เติมจุลินทรีย์หอมคาซาม่าในบ่อแรก  บ่อที่ 2 เป็นบ่อเติมอากาศ ส่วนบ่อที่ 3 เป็นบ่อพักน้ำดีก่อนปล่อยทิ้งออกสู่สาธารณะสิ่งแวดล้อม  อัตราส่วนการใช้จุลินทรีย์หอมคาซาม่า  1-2 ลิตร ต่อ 1 คิวน้ำเสีย หรือเพิ่มความเข้มข้นมากขึ้นได้ตามความเหมาะสม กรณีที่น้ำเสียวิกฤตมาก โดยการเติมจุลินทรีย์หอมคาซาม่า ( จุลินทรีย์หอม-kasama ) ลงในบ่อบำบัดเสียบ่อแรก อัตราส่วนจุลินทรีย์ : น้ำเสีย  1-2 ลิตร ต่อ น้ำเสีย 1 คิวหรือ 1 ลบม. (กรณีที่ไม่วิกฤตมาก ) แต่ถ้ากรณีที่น้ำเสียวิกฤตมากๆ ควรเพิ่มปริมาณจุลินทรีย์มากขึ้นตามปัญหา  ควรหมั่นเติมจุลินทรีย์เรื่อยๆ เพื่อให้ระบบการย่อยสลายมีประสิทธิภาพในการบำบัดน้ำเสียอย่างน้อยเดือนละครั้ง ถ้าเป็นไปได้สัปดาห์ละครั้งยิ่งเป็นการดีต่อระบบ ซึ่งจะส่งผลทำให้จุลินทรีย์ในระบบไม่ลดน้อยลง เพราะโดยทั่วไปจุลินทรีย์ในระบบบางส่วนจะสลายไปตามธรรมชาติ ในขณะที่ของเสียเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ จุลินทรีย์มีปริมาณน้อยอาจย่อยสลายไม่ทัน จึงส่งผลให้ระบบมีปัญหา เกิดน้ำเสียมากขึ้น ส่งกลิ่นเหม็นไปทั่วบริเวณ การแก้ไขปัญหานี้จึงต้องพึ่งจุลินทรีย์ด้วยการเติมจุลินทรีย์เข้าไปในระบบ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการย่อยสลายของเสียดังกล่าว

บำบัดน้ำเสียอย่างไรให้ได้ผลดี ? 

วัตถุประสงค์ของการบำบัดน้ำเสีย เพื่อเปลี่ยนน้ำเสียให้เป็นน้ำดีก่อนปล่อยทิ้งออกสู่สิ่งแวดล้อม เพราะถ้าปล่อยน้ำเสียทิ้งออกสู่สิ่งแวดล้อมสาธารณะก็จะสร้างมลภาวะทั้งกลิ่นเน่าเหม็นของน้ำเสียและปัญหาอีกหลายอย่างที่ติดตามมาในภายหลัง ดังนั้น ถ้ามีน้ำเสียต้องทำการบำบัดก่อนปล่อยทิ้ง ในการบำบัดน้ำเสียและย่อยสลายของเสียต่างๆเป็นหน้าที่โดยตรงของจุลินทรีย์ย่อยสลาย ทุกๆระบบบำบัดน้ำเสียต้องพึ่งพาอาศัยจุลินทรีย์ทั้งนั้นในการบำบัด ไม่มีเว้นแม้กระทั่งเคมีบำบัด ขั้นตอนสุดท้ายก็ต้องพึ่งจุลินทรีย์อยู่ดี ในการบำบัดน้ำเสียให้ได้ผลดีนั้นต้องทำให้ถึง ทั้งการเติมจุลินทรีย์ให้กับระบบบำบัดต้องไม่น้อยหรือต้องมากกว่าปริมาณของเสียที่เกิดขึ้นจริงจึงจะได้ผลดีระบบจึงจะมีประสิทธิภาพ และต้องมีความต่อเนื่อง ( เติมจุลินทรีย์อย่างต่อเนื่องเมื่อปริมาณจุลินทรีย์ลดลง ) จะมีจุลินทรีย์บางส่วนที่จะสลายไปตามธรรมชาติ การเพิ่มปริมาณจุลินทรีย์อยู่เรื่อยๆเป็นสิ่งที่พึงปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง ถ้าต้องการให้ระบบบำบัดน้ำเสียสมบูรณ์และมีประสิทธิภาพในการบำบัดน้ำเสียให้ได้ดี ถ้าเป็นระบบบำบัดน้ำเสียแบบเติมอากาศก็ให้เติมอากาศอย่างต่อเนื่องเช่นกัน ซึ่งจะเป็นการเสริมประสิทธิภาพการบำบัดน้ำเสียระหว่างกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนกับกลุ่มจุลินทรีย์ที่ไม่ใช้ออกซิเจน ( จุลินทรีย์อีเอ็ม หรือ em )

                         

จุลินทรีย์หอมคาซาม่า ( จุลินทรีย์หอม-Kasama ) จุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสียและดับกลิ่นใช้ประโยชน์อะไรได้บ้าง?

-  สำหรับย่อยสลายของเสียในน้ำเสียและบำบัดน้ำเสียในอาคารหรือโรงงาน

- ดับกลิ่นบ่อเกรอะ , ย่อยสลายของเสียในบ่อเกรอะ , เติมบ่อเกรอะเพื่อเพิ่มปริมาณจุลินทรีย์

- ดับกลิ่นน้ำเน่าเหม็น,  ดับกลิ่นปัสสาวะ ,  กลิ่นมูลสัตว์เลี้ยงทุกๆชนิด

- ดับกลิ่นห้องน้ำเหม็น ทั้งกลิ่นเหม็นจากโถส้วม ชักโครกและพื้นห้องน้ำ

- ดับกลิ่นส้วมเหม็น  บ่อเกรอะเหม็น  ท่อเดรนในห้องน้ำส่งกลิ่นเหม็น

- ดับกลิ่นท่อน้ำทิ้งในห้องน้ำเหม็น  ท่อระบายน้ำในห้องน้ำเหม็น ถังขยะเหม็น

- ดับกลิ่นสุนัขและสัตว์เลี้ยงทุกชนิด  ดับกลิ่นตามกรงสุนัข คอกสุนัขส่งกลิ่นเหม็น

- ดับกลิ่นมูลสัตว์และฟาร์มปศุสัตว์ทุกชนิด  เช่น ฟาร์มเป็ดฟาร์มไก่ ฟาร์มสุกรส่งกลิ่นเหม็นรบกวน

- ดับกลิ่นเน่าเหม็นตามตลาดและร้านอาหารทั่วไปที่มีของเน่าเสียส่งกลิ่นเหม็นรบกวน

จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย ราคา

จุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสีย ราคา

ราคาจำหน่ายจุลินทรีย์หอมคาซาม่า แกลลอนละ  1,200 บาท 

    ขนาดบรรจุ แกลลอน 20  ลิตรจัดส่งฟรีๆทั่วประเทศ 

        

จุลินทรีย์หอมคาซาม่า ( จุลินทรีย์หอม kasama ) จุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสีย จุลินทรีย์หอมดับกลิ่นเน่าเหม็นของเราเน้นความเข้มข้นสูง ไม่มีเก่าเก็บ ดับกลิ่นเน่าเหม็นได้รวดเร็ว ประการสำคัญคือ กลิ่นหอมทันทีที่นำไปใช้ดับกลิ่นห้องน้ำ หรือดับกลิ่นบ่อเกรอะ ดับกลิ่นบ่อบำบัดน้ำเสียที่ส่งกลิ่นเหม็น หรือฟาร์มปศุสัตว์อย่างฟาร์มสุกรที่ส่งกลิ่นเหม็นของมูลสุกร



         

ดูแต่ละหัวข้อ กรุณาคลิกที่ลิ้งค์ด้านล่างนี้

 

การบำบัดน้ำเสีย/ระบบบำบัดน้ำเสียของคอนโดมิเนียม กดดูที่นี่..

วิธีดับกลิ่นน้ำเน่าเหม็นและน้ำเน่าเสีย คลิกดูที่นี่...  

ดับกลิ่นห้องน้ำส่งกลิ่นเหม็น คลิกดูที่นี่...

ส้วมเหม็นทำอย่างไร? แก้ไขอย่างไร ? คลิกดูที่นี่..

ดับกลิ่นบ่อส้วมเหม็น บ่อส้วมมีกลิ่น คลิกดูที่นี่...

ชักโครกส่งกลิ่นเหม็น ท่อน้ำทิ้งมีกลิ่นเหม็น บ่อเกรอะส่งกลิ่นเหม็น คลิกที่นี่..

ดับกลิ่นส้วมเหม็น/ดับกลิ่นห้องน้ำเหม็น/ดับกลิ่นบ่อส้วมเหม็น คลิกที่นี่..

ดับกลิ่นสุนัขและสัตว์เลี้ยงทุกๆชนิด คลิกดูที่นี่..
 ปัญหาบ่อเติมอากาศส่งกลิ่นเหม็นเกิดจากสาเหตุใด ? คลิกดูที่นี่..
จุลินทรีย์ดับกลิ่นรถขยะ / ดับกลิ่นรถขนขยะเหม็น คลิกดูที่นี่.. 
บำบัดน้ำเสียและการบำบัดกลิ่นในโรงงานไอศครีมทุกๆแห่ง คลิกที่นี่... 

 การแก้ปัญหาน้ำเสียและกลิ่นในโรงงานขนมจีนทุกๆแห่ง คลิกดูที่นี่..

การดูแลและบำรุงรักษา/การบริหารจัดการระบบบำบัดน้ำเสีย คลิกดูที่นี่.. 

 วิธีลดค่า BOD , SS , TDS ในโรงงานปลากระป๋อง คลิกดูที่นี่..
จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย/จุลินทรีย์ที่ใช้ในการบำบัดน้ำเสีย คลิกที่นี่...

ดับกลิ่นและบำบัดน้ำเสียในล้งปลาทุกๆแห่ง คลิกดูที่นี่.. 
จุลินทรีย์ดับกลิ่นและบำบัดน้ำเสียในโรงงานผลิตขนม คลิกที่นี่.. 
จุลินทรีย์หอมดับกลิ่นและบำบัดน้ำเสียในฟาร์มเลี้ยงหมู คลิกที่นี่..
ดับกลิ่นและบำบัดน้ำเสียในล้งปลา/โรงงานทำปลา คลิกดูที่นี่..
การกำจัดไขมันและน้ำมันแบบง่ายๆ( FOG ) คลิกดูที่นี่.. 

การบำบัดน้ำเสียของคอนโดมิเนียม คลิกดูที่นี่.. 

จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียทำงานย่อยสลายของเสียอย่างไร คลิกดูที่นี่.. 

สัญญาณจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียในบ่อบำบัดมีปริมาณน้อย คลิกดูที่นี่.. 

วิธีการกำจัดสารอินทรีย์ที่เจือปนอยู่ในน้ำเสีย คลิกดูที่นี่.. 

การบำบัดน้ำเสียโดยทั่วไป คลิกดูที่นี่.. 

การบำบัดน้ำเสียของแต่ละหน่วยงาน คลิกดูที่นี่.. 

ระบบบำบัดน้ำเสีย / การบำบัดน้ำเสีย คลิกดูที่นี่.. 

บำบัดน้ำเสีย / วิธีบำบัดน้ำเสีย คลิกดูที่นี่..

บำบัดน้ำเสีย/ระบบบำบัดน้ำเสีย คลิกดูที่นี่..

การบำบัดน้ำเสีย/การดับกลิ่นด้วยจุลินทรีย์หอมคาซาม่า  คลิกที่นี่.. 

ประโยชน์ของการใช้จุลินทรีย์หอมคาซาม่าในบ่อเกรอะบ่อส้วม  คลิกที่นี่.. 

จุลินทรีย์ 2 in 1 (จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย & จุลินทรีย์ดับกลิ่น)คลิกดูที่นี่..  

ทำไมต้องเติจุลินทรีย์ลงไปในระบบบำบัดหรือบ่อบำบัด คลิกดูที่นี่.. 

จุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสีย & จุลินทรีย์หอมดับกลิ่น คลิกดูที่นี่..

จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย ซื้อที่ไหน  คลิกที่นี่.. 

วิธีดับกลิ่นส้วมเต็ม(ส้วมเหม็น) คลิกดูที่นี่...

ดับกลิ่นคาวปลาในโรงงาน / ดับกลิ่นคาวเลือดปลา คลิกดูที่นี่..

เลี้ยงหมูแบบเกษตรอินทรีย์ชีวภาพ  คลิกดูที่นี่..

 ดับกลิ่นบ่อส้วมเหม็น( ดับกลิ่นบ่อเกรอะเหม็น ) คลิกดูที่นี่.. 

จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย  คลิกดูที่นี่...

จุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสีย คลิกดูที่นี่....       

 จุลินทรีย์ดับกลิ่น  คลิกดูข้อมูลที่นี่... 

จุลินทรีย์หอมดับกลิ่น / จุลินทรีย์หอมกำจัดกลิ่น คลิกดูข้อมูลที่นี่.... 

จุลินทรีย์หอม  คลิกดูข้อมูลที่นี่.... 

น้ำยาดับกลิ่น / น้ำยากำจัดกลิ่น ที่ไม่ใช่สารเคมี คลิกที่นี่.. 

ขายจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียที่มีกลิ่นหอม  คลิกที่นี่.. 

การบำบัดน้ำเสียและดับกลิ่นในบ่อเกรอะ  คลิกที่นี่...

วิธีการลดค่า BOD,SS,TDS ในเบื้องต้นแบบง่ายๆ คลิกที่นี่..

จุลินทรีย์ดับกลิ่นและบำบัดน้ำเสียในฟาร์มเลี้ยงหมู คลิกที่นี่..

จุลินทรีย์ดับกลิ่นขยะเหม็น  คลิกที่นี่..

จุลินทรีย์ที่ใช้ในการบำบัดน้ำเสีย คลิกดูที่นี่..

จำหน่ายจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย/ขายจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย  คลิกที่นี่.. 

em บำบัดน้ำเสีย/  em หอมบำบัดน้ำเสีย คลิกที่นี่..  

em ดับกลิ่น / em หอมดับกลิ่น คลิกที่นี่.. 

em ดับกลิ่นส้วม ดับกลิ่นบ่อส้วมเหม็น คลิกดูที่นี่..  

จุลินทรีย์ดับกลิ่นส้วมดับกลิ่นบ่อส้วมเหม็น  คลิกดูที่นี่.. 

จุลินทรีย์ดับกลิ่นห้องน้ำ คลิกดูที่นี่...  

วิธีดับกลิ่นห้องน้ำเหม็น/ห้องน้ำมีกลิ่นแรง คลิกที่นี่...

วิธีดับกลิ่นบ่อเกรอะเหม็นบ่อส้วมเหม็น  คลิกดูที่นี่..

จุลินทรีย์ดับกลิ่นบ่อเกรอะ/ดับกลิ่นห้องน้ำ/บำบัดน้ำเสีย คลิกที่นี่.. 

การบริหารจัดการบำบัดน้ำเสียโดยรวมของระบบบำบัด คลิกที่นี่...  

จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย/จุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสีย  คลิกที่นี่...

ปัญหาระบบบำบัดน้ำเสีย & ปัญหาการบำบัดน้ำเสีย  คลิกที่นี่...  

ปัญหาค่ามาตรฐานน้ำทิ้งไม่ผ่านเกณฑ์มาจากสาเหตุใด ? คลิกดูที่นี่...

ระบบบำบัดน้ำเสียของอาคารสำนักงานและอาคารชุดทั่วๆไป คลิกที่นี่...

ค่า BOD และค่า DO มีความสำคัญอย่างไรต่อระบบบำบัดน้ำเสีย ? คลิกที่นี่...

ลดค่า  BOD  ทำอย่างไร ?  อยากรู้ คลิกดูที่นี่.... 

 การบริหารจัดการบำบัดน้ำเสียในโรงงานอุตสาหกรรม คลิกดูที่นี่.. 

การบริหารจัดการบ่อบำบัดน้ำเสียและระบบบำบัดน้ำเสียของคอนโด คลิกที่นี่..

เพิ่มประสิทธิภาพบ่อบำบัดน้ำเสียและระบบบำบัดน้ำเสียทุกๆระบบ  คลิกที่นี่...   

จุลินทรีย์หอม kasama ( จุลินทรีย์หอมคาซาม่า ) คลิกที่นี่..

จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย คืออะไร ? คลิกดูข้อมูลที่นี่.... 

จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียมีความสำคัญอย่างไร ? อยากรู้คลิกดูข้อมูลที่นี่...  

 

[[ค่ามาตรฐานน้ำทิ้งที่กำหนด คลิกที่นี่..]]