จุลินทรีย์หอมคาซาม่าได้เพิ่มกลุ่มจุลินทรีย์ไนตริฟลายอิ้งลดค่า TKN แอมโมเนีย ไนเตรท ไนไตรท์ โดยเฉพาะ ความรู้เกี่ยวกับจุลินทรีย์แบบใช้อากาศและจุลินทรีย์แบบไม่ใช้อากาศในบ่อบำบัดน้ำเสียและบ่อเกรอะ
ReadyPlanet.com
จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียแบบใช้อากาศและจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียแบบไม่ใช้อากาศ

    

                 

จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย ( จุลินทรีย์ที่มีประโยชนชน์ในการย่อยสลายของเสีย ) คือสิ่งที่สำคัญมากที่สุดในการบำบัดน้ำเสียและในระบบบำบัดน้ำเสียทุกๆระบบ เป็นตัวจักรที่สำคัญและมีบทบาทมากที่สุดในการบำบัดน้ำเสียจากทุกๆแหล่งและทุกๆระบบบำบัด

การบำบัดน้ำเสียโดยใช้จุลินทรีย์ย่อยสลายของเสีย (บำบัดน้ำเสีย )

การบำบัดน้ำเสีย คือ การแยกหรือนำสิ่งสกปรกที่ปนเปื้อนและเจือปนอยู่ในน้ำเสียออกไปจากน้ำเสีย ในการบำบัดน้ำเสียมีทั้งทางกายภาพ ทางชีวภาพและทางเคมี อาจใช้กรรมวิธีใดวิธีหนึ่งหรือทั้งหมดรวมๆกันก็มี การบำบัดน้ำเสียด้วยจุลินทรีย์ย่อยสลายของเสียนั้นเป็นกระบวนการบำบัดน้ำเสียขั้นตอนสุดท้าย ซึ่งปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นจากการบำบัดน้ำเสียด้วยจุลินทรีย์จะเป็นไปตามสมการจำลองด้านล่าง

อย่างที่กล่าวมาแล้วว่า การบำบัดน้ำเสียและย่อยสลายของเสียต่างๆต้องใช้จุลินทรีย์ในการย่อยสลาย ซึ่งกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียต่างๆยังจำแนกออกเป็น 2 กลุ่มดังต่อไปนี้. -

1. กลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสีย ( มีคุณสมบัติในการย่อยสลายของเสียต่างๆ ) ที่ใช้ออกซิเจนในการดำรงชีพและการเจริญเติบโตขยายเซลล์ รวมถึงการนำออกซิเจนไปใช้ในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสีย ( Aerobic  Bacteria ) จุลินทรีย์กลุ่มนี้จะขาดออกซิเจนไม่ได้ หรือออกซิเจนมีน้อยก็มีผลต่อการเจริญเติบโต ออกซิเจนและอาหารจะเป็นสิ่งจำเป็นมากสำหรับจุลินทรีย์กลุ่มนี้ ถ้าขาดออกซิเจนก็ทำงานไม่ได้และตายได้ตลอดเวลา ดังนั้น ในระบบบำบัดน้ำเสีย โดยเฉพาะระบบบำบัดน้ำเสียแบบเติมอากาศ ( Activated Sludge : AS ) จะต้องเติมอากาศออกซิเจนลงไปในน้ำเสีย เพื่อเพิ่มออกซิเจนในน้ำเสียนั้นๆให้กับจุลินทรีย์กลุ่มนี้เพื่อนำไปใช้ในการดำรงชีพเจริญเติบโต และนำไปใช้ในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียต่างๆในน้ำเสีย จุลินทรีย์กลุ่มนี้เป็นที่นิยมมากที่สุดในการนำไปใช้บำบัดน้ำเสียในทุกๆระบบบำบัดในปัจจุบัน สาเหตุเพราะสามารถดึงจากธรรมชาติมาใช้งานได้ง่าย แต่มีข้อเสียตรงที่ควบคุมยาก ต้องออกแบบระบบบำบัดและสร้างสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสมกับการดำรงชีพจุลินทรีย์กลุ่มนี้จึงจะอยู่ได้และทำงานย่อยสลายของเสียได้ดี ถ้ามีปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อจุลินทรีย์กลุ่มนี้เมื่อใด จะส่งผลให้จุลินทรีย์ในระบบบำบัดหรือในบ่อบำบัดลดลงทันทีหรืออาจตายยกบ่อบำบัดได้ตลอดเวลา เช่น ในน้ำเสียมีออกซิเจนต่ำมาก ( ค่า DO ต่ำ ) จุลินทรีย์กลุ่มนี้อาจตายยกบ่อได้หรือเหลือน้อยมาก  หรือกรณีที่ค่า pH สูงมาก หรือ ต่ำมากๆ จะส่งผลให้จุลินทรีย์กลุ่มนี้ตายยกบ่อได้ทันที นี้คือข้อจำกัดและเงื่อนไขของจุลินทรีย์กลุ่มนี้บางส่วน ซึ่งค่อนข้างอ่อนไหวต่อสภาวะแวดล้อมในระบบบำบัด  

2. กลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสีย ( มีคุณสมบัติในการย่อยสลายของเสียต่างๆ ) ที่ไม่ใช้ออกซิเจนในการดำรงชีพและการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสีย ( Anaerobic  Bacteria ) จุลินทรีย์กลุ่มนี้จะมีความเหมือนบางประการกับจุลินทรีย์กลุ่มแรกก็คือ มีคุณสมบัติในการย่อยสลายของเสียต่างๆได้เหมือนกัน  แต่จะมีความแตกต่างในเรื่องของการดำรงชีพและการทำปฏิกิริยาย่อยสลายที่ไม่ใช้ออกซิเจนเหมือนกลุ่มแรก รวมทั้งความสามารถทนกับแรงต้านทานในสภาวะแวดล้อมที่วิกฤตได้ดี ในน้ำเสียไม่มีออกซิเจนเลย หรือ ค่า pH ต่ำมากหรือสูงมาก จุลินทรีย์กลุ่มนี้ก็สามารถอยู่ได้และทำงานย่อยสลายได้ตามปกติ ซึ่งจะแตกต่างกับจุลินทรีย์กลุ่มแรก ( กลุ่มที่ใช้ออกซิเจน ) ที่ไม่สามารถต้านทานสภาวะวิกฤตได้ นี่คือความแตกต่างบางส่วนของจุลินทรีย์กลุ่มนี้กับจุลินทรีย์กลุ่มที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลัก แต่ข้อเสียหรือจุดด้อยของจุลินทรีย์กลุ่มนี้ก็คือ ดึงมาใช้งานได้ค่อนข้างยาก ไม่ค่อยรวมกันเป็นกลุ่มก้อน ในธรรมชาติควบคุมได้ยากเช่นเดียวกันกับจุลินทรีย์กลุ่มแรก ดังนั้น จึงมีผู้ที่ทำการสังเคราะห์จุลินทรีย์กลุ่มนี้ขึ้นมาไว้ในจุดเดียวกันเป็นกลุ่มก้อนปริมาณมากเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ หนึ่งในประโยชน์ที่นำไปใช้นั้นก็คือ การนำไปใช้ในการบำบัดน้ำเสียย่อยสลายของเสีย จุลินทรีย์กลุ่มนี้สังเคราะห์ขึ้นในห้องปฏิบัติการจะได้ความหนาแน่นปริมาณจุลินทรีย์มากตามที่ต้องการ ซึ่งขั้นตอนต่างๆในการสังเคราะห์รวมกลุ่มจุลินทรีย์กลุ่มนี้จะทำได้ค่อนข้างยุ่งยากกว่าจุลินทรีย์กลุ่มแรก ( ที่ใช้ออกซิเจน ) ที่สามารถดึงมาใช้งานได้ง่ายกว่ากลุ่มนี้ ( กลุ่มที่ไม่ใช้ออกซิเจน ) นี่คือ ความแตกต่างของจุลินทรีย์ย่อยสลายทั้งสองกลุ่มนี้บางส่วน

  ในกระบวนการบำบัดน้ำเสียขั้นตอนสุดท้าย จะพึ่งพาและอาศัยจุลินทรีย์ทั้งสองกลุ่มนี้ ( กลุ่มที่ใช้ออกซิเนและกลุ่มที่ไม่ใช้ออกซิเจน ) เป็นตัวแปรเปลี่ยนสถานะของสสารต่างๆ ( ของเสีย ) ที่เจือปนและปนเปื้อนอยู่ในน้ำเสียไปเป็น  =>>  น้ำ +  พลังงาน  +  CO2  ตามสมการจำลองด้านล่างนี้

     

จากสมการจำลองด้านบนจะเห็นได้ว่า  จุลินทรีย์จะเข้าทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียและแปรสถานะของเสียไปเป็น น้ำ พลังงานและก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในขั้นตอนสุดท้าย ที่สุดของที่สุดของปฏิกิริยาก็คือไม่เหลืออะไรเลย ( ว่างเปล่า ) แต่ในการย่อยสลายของเสียเหล่านี้ต้องใช้ระยะเวลาที่แตกต่างกันออกไป ของเสียที่มีขนาดเล็กๆก็จะใช้ระยะเวลาในการย่อยสลายได้รวดเร็ว แต่ถ้าเป็นของเสียที่มีขนาดใหญ่ชิ้นใหญ่ ก็จะต้องใช้เวลาในการย่อยสลายนานขึ้น อาจจะเป็นปีหรือหลายร้อยปีเหมือนการย่อยสลายจำพวกพลาสติกก็เป็นไปได้ ดังนั้น ในการบำบัดน้ำเสียที่ใช้จุลินทรีย์ในการย่อยสลายของเสียจึงต้องมีการบำบัดในขั้นต้นก่อน นั่นก็คือ การคิดแยกของเสียที่มีขนาดใหญ่ออกจากระบบบำบัดก่อน เพื่อให้เหลือเฉพาะของเสียที่มีขนาดเล็กที่จุลินทรีย์สามารถย่อยสลายได้อย่างรวดเร็ว นี่คือ กระบวนการบำบัดน้ำเสียที่ใช้จุลินทรีย์ย่อยสลายของเสีย  บรรดาของเสียต่างๆทั้งหมดบนโลกใบนี้ ล้วนต้องพึ่งพาและอาศัยจุลินทรีย์กลุ่มที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายทั้งสิ้น ไม่ว่าจะเป็นกลุ่มที่ใช้ออกซิเจนและไม่ใช้ออกซิเจนที่สามารถทำงานย่อยสลายของเสียต่างๆร่วมกันได้

  นี่คือที่มาของจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียหรือจุลินทรีย์ที่ใช้ในการบำบัดน้ำเสีย ซึ่งมีอยู่ในธรรมชาติดิน น้ำ และอากาศ แต่อยู่แบบกระจัดกระจายไม่รวมกันเป็นกลุ่มก้อน ดังนััน จึงต้องมีการออกแบบระบบและสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสม เพื่อดึงจุลินทรีย์เหล่านี้มาใช้งานในการบำบัดน้ำเสียย่อยสลายของเสียในระบบบำบัด  การบำบัดน้ำเสียและระบบบำบัดน้ำเสียจะมีประสิทธิภาพมากหรือน้อยจึงขึ้นอยู่กับจุลินทรีย์ย่อยสลายในระบบบำบัดเป็นหลัก ค่ามาตรฐานน้ำทิ้งจะผ่านเกณฑ์กำหนดหรือไม่ผ่านเกณฑ์กำหนดก็อยู่ตรงที่การควบคุมจุลินทรีย์ย่อยสลายได้ดีหรือไม่

จุลินทรีย์แบบใช้อากาศและจุลินทรีย์แบบไม่ใช้อากาศ ( Aerobic bacteria  และ Anaerobic bacteria ) ในระบบบำบัดน้ำเสียคืออะไร? 

จุลินทรีย์หรือแบคทีเรียเป็นสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กเหมือนกัน ตัวเดียวกัน ซึ่งมีทั้งกลุ่มที่มีประโยชน์ กลุ่มที่มีโทษ และกลุ่มที่เป็นกลาง ซึ่งกลุ่มที่เป็นกลางนี้เข้ากับกลุ่มใดก็ได้ทั้งหมด ในที่นี้จะขอกล่าวถึงกลุ่มจุลินทรีย์ที่นำมาใช้ประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียในบ่อบำบัดน้ำเสียและบ่อเกรอะเป็นหลัก ซึ่งจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายกลุ่มนี้มีทั้งประเภทที่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาเป็นหลัก และกลุ่มที่ไม่ใช้ออกซิเจน ( Aerobic bacteria  และ Anaerobic bacteria ) 

1 ) กลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียที่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาเป็นหลัก ( Aerobic bacteria ) จุลินทรีย์กลุ่มนี้ต้องมีออกซิเจนละลายอยู่ในน้ำ ( น้ำเสีย ) เท่านั้นจึงจะทำงานย่อยสลายของเสียได้ ถ้าปราศจากออกซิเจนละลายอยู่ในน้ำเสียนั้นแล้ว จุลินทรีย์กลุ่มนี้ก็ไม่สามารถทำการย่อยสลายของเสียได้ นี่คือที่มาของการเติมอากาศลงไปในน้ำเสียหรือในบ่อบำบัดน้ำเสีย เพื่อเพิ่มปริมาณของกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลักให้สามารถทำงานย่อยสลายของเสียได้นั่นเอง กลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลักมีอยู่ในธรรมชาติแทบทุกหนทุกแห่งที่มีอากาศออกซิเจน

2 ) กลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียที่ไม่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสีย ( Anaerobic bacteria ) หนึ่งในกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์และมีประสิทธิภาพในการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียคือ กลุ่มจุลินทรีย์อีเอ็มหรือ EM นั่นเอง ซึ่งเป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์อีกลุ่มหนึ่งที่มีหลายสายพันธุ์รวมกันอยู่ในที่เดียวกัน ควบคุมดูแลง่าย สามารถใช้ได้ทั้งในสภาวะที่ไร้อากาศและในสภาวะที่มีอากาศ และสามารถทำงานได้ดีในทางคู่ขนานกับกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลัก ไม่ส่งผลเสียใดๆต่อระบบบำบัดน้ำเสีย เป็นการเสริมประสิทธิภาพในระบบบำบัดน้ำเสียให้ทำงานได้ดีมากขึ้น เพิ่มประสิทธิภาพในการย่อยสลายของเสียได้มากกว่าปกติทั่วไป

ในบ่อบำบัดน้ำเสียถ้ามีกลุ่มจุลินทรีย์ทั้งแบบใช้อากาศและไม่ใช้อากาศจะเป็นสิ่งที่ดีต่อระบบบำบัดน้ำเสียโดยตรง เพราะระบบบำบัดน้ำเสียบางแห่งจะเป็นบ่อที่อับอากาศ ในน้ำเสียมีค่าออกซิเจนที่ละลายอยู่ในน้ำเสียนั้นมีน้อยหรือแทบไม่มีเลย ซึ่งจะส่งผลให้กลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้อากาศในบ่อบำบัดมีน้อย น้ำเสียไม่สามารถบำบัดได้ นี่คือ ความสำคัญของจุลินทรีย์ย่อยสลายในบ่อบำบัดน้ำเสียแต่ละระบบบำบัดน้ำเสียทุกๆระบบ           บ่อเกรอะเป็นจุดอับอากาศหรือแทบไม่มีออกซิเจนเลยก็ว่าได้ มีแต่ก๊าซอันตรายอยู่ในบ่อเกรอะ ดังนั้น กลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายของเสียในบ่อเกรอะที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลักจึงไม่สามารถทำงานได้ จำเป็นต้องพึ่งพาและอาศัยกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ไม่ใช้อากาศทดแทน

      

บำบัดน้ำเสียอย่างไรให้ได้ผลดี ? 

วัตถุประสงค์ของการบำบัดน้ำเสีย เพื่อเปลี่ยนน้ำเสียให้เป็นน้ำดีก่อนปล่อยทิ้งออกสู่สิ่งแวดล้อม เพราะถ้าปล่อยน้ำเสียทิ้งออกสู่สิ่งแวดล้อมสาธารณะก็จะสร้างมลภาวะทั้งกลิ่นเน่าเหม็นของน้ำเสียและปัญหาอีกหลายอย่างที่ติดตามมาในภายหลัง ดังนั้น ถ้ามีน้ำเสียต้องทำการบำบัดก่อนปล่อยทิ้ง ในการบำบัดน้ำเสียและย่อยสลายของเสียต่างๆเป็นหน้าที่โดยตรงของจุลินทรีย์ย่อยสลาย ทุกๆระบบบำบัดน้ำเสียต้องพึ่งพาอาศัยจุลินทรีย์ทั้งนั้นในการบำบัด ไม่มีเว้นแม้กระทั่งเคมีบำบัด ขั้นตอนสุดท้ายก็ต้องพึ่งจุลินทรีย์อยู่ดี ในการบำบัดน้ำเสียให้ได้ผลดีนั้นต้องทำให้ถึง ทั้งการเติมจุลินทรีย์ให้กับระบบบำบัดต้องไม่น้อยหรือต้องมากกว่าปริมาณของเสียที่เกิดขึ้นจริงจึงจะได้ผลดีระบบจึงจะมีประสิทธิภาพ และต้องมีความต่อเนื่อง ( เติมจุลินทรีย์อย่างต่อเนื่องเมื่อปริมาณจุลินทรีย์ลดลง ) จะมีจุลินทรีย์บางส่วนที่จะสลายไปตามธรรมชาติ การเพิ่มปริมาณจุลินทรีย์อยู่เรื่อยๆเป็นสิ่งที่พึงปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง ถ้าต้องการให้ระบบบำบัดน้ำเสียสมบูรณ์และมีประสิทธิภาพในการบำบัดน้ำเสียให้ได้ดี ถ้าเป็นระบบบำบัดน้ำเสียแบบเติมอากาศก็ให้เติมอากาศอย่างต่อเนื่องเช่นกัน ซึ่งจะเป็นการเสริมประสิทธิภาพการบำบัดน้ำเสียระหว่างกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนกับกลุ่มจุลินทรีย์ที่ไม่ใช้ออกซิเจน ( จุลินทรีย์อีเอ็ม หรือ em )

                         

จุลินทรีย์หอมคาซาม่า ( จุลินทรีย์หอม kasama ) เป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสีย รวมถึงการกำจัดกลิ่นชนิดไม่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยา (  Anaerobic  Bacteria ) สามารถใช้ได้ทั้งในสภาวะไร้อากาศและในสภาวะที่มีอากาศออกซิเจน

จุลินทรีย์หอมคาซาม่า ( จุลินทรีย์หอม-Kasama ) จุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสียและดับกลิ่นใช้ประโยชน์อะไรได้บ้าง?

-  สำหรับบำบัดน้ำเสียและย่อยสลายของเสียในน้ำเสียในบ่อบำบัดของอาคารหรือโรงงาน

- ดับกลิ่นบ่อเกรอะ , ย่อยสลายของเสียในบ่อเกรอะ , เติมบ่อเกรอะเพื่อเพิ่มปริมาณจุลินทรีย์

- ดับกลิ่นน้ำเน่าเหม็น,  ดับกลิ่นปัสสาวะ ,  กลิ่นมูลสัตว์เลี้ยงทุกๆชนิด

- ดับกลิ่นห้องน้ำเหม็น ทั้งกลิ่นเหม็นจากโถส้วม ชักโครกและพื้นห้องน้ำ

- ดับกลิ่นส้วมเหม็น  บ่อเกรอะเหม็น  ท่อเดรนในห้องน้ำส่งกลิ่นเหม็น

- ดับกลิ่นท่อน้ำทิ้งในห้องน้ำเหม็น  ท่อระบายน้ำในห้องน้ำเหม็น ถังขยะเหม็น

- ดับกลิ่นสุนัขและสัตว์เลี้ยงทุกชนิด  ดับกลิ่นตามกรงสุนัข คอกสุนัขส่งกลิ่นเหม็น

- ดับกลิ่นมูลสัตว์และฟาร์มปศุสัตว์ทุกชนิด  เช่น ฟาร์มเป็ดฟาร์มไก่ ฟาร์มสุกรส่งกลิ่นเหม็นรบกวน

- ดับกลิ่นเน่าเหม็นตามตลาดและร้านอาหารทั่วไปที่มีของเน่าเสียส่งกลิ่นเหม็นรบกวน

จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย ราคา

ราคาจำหน่ายจุลินทรีย์หอมคาซาม่า  แกลลอนละ  1,200 บาท 

จัดส่งฟรีๆทั่วประเทศ  ขนาดบรรจุแกลลอนละ 20  ลิตร 

        

ที่นี่..จำหน่ายจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียชนิดมีกลิ่นหอม ใช้บำบัดน้ำเสียกลิ่นหอมทันที จึงเป็นจุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสีย จุลินทรีย์หอมดับกลิ่นเน่าเหม็นของเราเน้นความเข้มข้นสูง ไม่มีเก่าเก็บ ดับกลิ่นเน่าเหม็นได้รวดเร็ว ประการสำคัญคือ กลิ่นหอมทันทีที่นำไปใช้ดับกลิ่นห้องน้ำ หรือดับกลิ่นบ่อเกรอะ ดับกลิ่นบ่อบำบัดน้ำเสียที่ส่งกลิ่นเหม็น หรือฟาร์มปศุสัตว์อย่างฟาร์มสุกรที่ส่งกลิ่นเหม็นของมูลสุกร



         

ดูแต่ละหัวข้อ กรุณาคลิกที่ลิ้งค์ด้านล่างนี้

 

การบำบัดน้ำเสีย/ระบบบำบัดน้ำเสียของคอนโดมิเนียม กดดูที่นี่..

วิธีดับกลิ่นน้ำเน่าเหม็นและน้ำเน่าเสีย คลิกดูที่นี่...  

ดับกลิ่นห้องน้ำส่งกลิ่นเหม็น คลิกดูที่นี่...

ส้วมเหม็นทำอย่างไร? แก้ไขอย่างไร ? คลิกดูที่นี่..

ดับกลิ่นบ่อส้วมเหม็น บ่อส้วมมีกลิ่น คลิกดูที่นี่...

ชักโครกส่งกลิ่นเหม็น ท่อน้ำทิ้งมีกลิ่นเหม็น บ่อเกรอะส่งกลิ่นเหม็น คลิกที่นี่..

ดับกลิ่นส้วมเหม็น/ดับกลิ่นห้องน้ำเหม็น/ดับกลิ่นบ่อส้วมเหม็น คลิกที่นี่..

ดับกลิ่นสุนัขและสัตว์เลี้ยงทุกๆชนิด คลิกดูที่นี่..
 ปัญหาบ่อเติมอากาศส่งกลิ่นเหม็นเกิดจากสาเหตุใด ? คลิกดูที่นี่..
จุลินทรีย์ดับกลิ่นรถขยะ / ดับกลิ่นรถขนขยะเหม็น คลิกดูที่นี่.. 
บำบัดน้ำเสียและการบำบัดกลิ่นในโรงงานไอศครีมทุกๆแห่ง คลิกที่นี่... 

 การแก้ปัญหาน้ำเสียและกลิ่นในโรงงานขนมจีนทุกๆแห่ง คลิกดูที่นี่..

การดูแลและบำรุงรักษา/การบริหารจัดการระบบบำบัดน้ำเสีย คลิกดูที่นี่.. 

 วิธีลดค่า BOD , SS , TDS ในโรงงานปลากระป๋อง คลิกดูที่นี่..
จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย/จุลินทรีย์ที่ใช้ในการบำบัดน้ำเสีย คลิกที่นี่...

ดับกลิ่นและบำบัดน้ำเสียในล้งปลาทุกๆแห่ง คลิกดูที่นี่.. 
จุลินทรีย์ดับกลิ่นและบำบัดน้ำเสียในโรงงานผลิตขนม คลิกที่นี่.. 
จุลินทรีย์หอมดับกลิ่นและบำบัดน้ำเสียในฟาร์มเลี้ยงหมู คลิกที่นี่..
ดับกลิ่นและบำบัดน้ำเสียในล้งปลา/โรงงานทำปลา คลิกดูที่นี่..
การกำจัดไขมันและน้ำมันแบบง่ายๆ( FOG ) คลิกดูที่นี่.. 

การบำบัดน้ำเสียของคอนโดมิเนียม คลิกดูที่นี่.. 

จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียทำงานย่อยสลายของเสียอย่างไร คลิกดูที่นี่.. 

สัญญาณจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียในบ่อบำบัดมีปริมาณน้อย คลิกดูที่นี่.. 

วิธีการกำจัดสารอินทรีย์ที่เจือปนอยู่ในน้ำเสีย คลิกดูที่นี่.. 

การบำบัดน้ำเสียโดยทั่วไป คลิกดูที่นี่.. 

การบำบัดน้ำเสียของแต่ละหน่วยงาน คลิกดูที่นี่.. 

ระบบบำบัดน้ำเสีย / การบำบัดน้ำเสีย คลิกดูที่นี่.. 

บำบัดน้ำเสีย / วิธีบำบัดน้ำเสีย คลิกดูที่นี่..

บำบัดน้ำเสีย/ระบบบำบัดน้ำเสีย คลิกดูที่นี่..

การบำบัดน้ำเสีย/การดับกลิ่นด้วยจุลินทรีย์หอมคาซาม่า  คลิกที่นี่.. 

ประโยชน์ของการใช้จุลินทรีย์หอมคาซาม่าในบ่อเกรอะบ่อส้วม  คลิกที่นี่.. 

จุลินทรีย์ 2 in 1 (จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย & จุลินทรีย์ดับกลิ่น)คลิกดูที่นี่..  

ทำไมต้องเติจุลินทรีย์ลงไปในระบบบำบัดหรือบ่อบำบัด คลิกดูที่นี่.. 

จุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสีย & จุลินทรีย์หอมดับกลิ่น คลิกดูที่นี่..

จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย ซื้อที่ไหน  คลิกที่นี่.. 

วิธีดับกลิ่นส้วมเต็ม(ส้วมเหม็น) คลิกดูที่นี่...

ดับกลิ่นคาวปลาในโรงงาน / ดับกลิ่นคาวเลือดปลา คลิกดูที่นี่..

เลี้ยงหมูแบบเกษตรอินทรีย์ชีวภาพ  คลิกดูที่นี่..

 ดับกลิ่นบ่อส้วมเหม็น( ดับกลิ่นบ่อเกรอะเหม็น ) คลิกดูที่นี่.. 

จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย  คลิกดูที่นี่...

จุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสีย คลิกดูที่นี่....       

 จุลินทรีย์ดับกลิ่น  คลิกดูข้อมูลที่นี่... 

จุลินทรีย์หอมดับกลิ่น / จุลินทรีย์หอมกำจัดกลิ่น คลิกดูข้อมูลที่นี่.... 

จุลินทรีย์หอม  คลิกดูข้อมูลที่นี่.... 

น้ำยาดับกลิ่น / น้ำยากำจัดกลิ่น ที่ไม่ใช่สารเคมี คลิกที่นี่.. 

ขายจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียที่มีกลิ่นหอม  คลิกที่นี่.. 

การบำบัดน้ำเสียและดับกลิ่นในบ่อเกรอะ  คลิกที่นี่...

วิธีการลดค่า BOD,SS,TDS ในเบื้องต้นแบบง่ายๆ คลิกที่นี่..

จุลินทรีย์ดับกลิ่นและบำบัดน้ำเสียในฟาร์มเลี้ยงหมู คลิกที่นี่..

จุลินทรีย์ดับกลิ่นขยะเหม็น  คลิกที่นี่..

จุลินทรีย์ที่ใช้ในการบำบัดน้ำเสีย คลิกดูที่นี่..

จำหน่ายจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย/ขายจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย  คลิกที่นี่.. 

em บำบัดน้ำเสีย/  em หอมบำบัดน้ำเสีย คลิกที่นี่..  

em ดับกลิ่น / em หอมดับกลิ่น คลิกที่นี่.. 

em ดับกลิ่นส้วม ดับกลิ่นบ่อส้วมเหม็น คลิกดูที่นี่..  

จุลินทรีย์ดับกลิ่นส้วมดับกลิ่นบ่อส้วมเหม็น  คลิกดูที่นี่.. 

จุลินทรีย์ดับกลิ่นห้องน้ำ คลิกดูที่นี่...  

วิธีดับกลิ่นห้องน้ำเหม็น/ห้องน้ำมีกลิ่นแรง คลิกที่นี่...

วิธีดับกลิ่นบ่อเกรอะเหม็นบ่อส้วมเหม็น  คลิกดูที่นี่..

จุลินทรีย์ดับกลิ่นบ่อเกรอะ/ดับกลิ่นห้องน้ำ/บำบัดน้ำเสีย คลิกที่นี่.. 

การบริหารจัดการบำบัดน้ำเสียโดยรวมของระบบบำบัด คลิกที่นี่...  

จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย/จุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสีย  คลิกที่นี่...

ปัญหาระบบบำบัดน้ำเสีย & ปัญหาการบำบัดน้ำเสีย  คลิกที่นี่...  

ปัญหาค่ามาตรฐานน้ำทิ้งไม่ผ่านเกณฑ์มาจากสาเหตุใด ? คลิกดูที่นี่...

ระบบบำบัดน้ำเสียของอาคารสำนักงานและอาคารชุดทั่วๆไป คลิกที่นี่...

ค่า BOD และค่า DO มีความสำคัญอย่างไรต่อระบบบำบัดน้ำเสีย ? คลิกที่นี่...

ลดค่า  BOD  ทำอย่างไร ?  อยากรู้ คลิกดูที่นี่.... 

 การบริหารจัดการบำบัดน้ำเสียในโรงงานอุตสาหกรรม คลิกดูที่นี่.. 

การบริหารจัดการบ่อบำบัดน้ำเสียและระบบบำบัดน้ำเสียของคอนโด คลิกที่นี่..

เพิ่มประสิทธิภาพบ่อบำบัดน้ำเสียและระบบบำบัดน้ำเสียทุกๆระบบ  คลิกที่นี่...   

จุลินทรีย์หอม kasama ( จุลินทรีย์หอมคาซาม่า ) คลิกที่นี่..

จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย คืออะไร ? คลิกดูข้อมูลที่นี่.... 

จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียมีความสำคัญอย่างไร ? อยากรู้คลิกดูข้อมูลที่นี่...