จุลินทรีย์หอมคาซาม่าได้เพิ่มกลุ่มจุลินทรีย์ไนตริฟลายอิ้งลดค่า TKN แอมโมเนีย ไนเตรท ไนไตรท์ โดยเฉพาะ ดูปัญหาค่ามาตรฐานน้ำทิ้งไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานมาจากสาเหตุบ้าง ?และต้องปฏิบัติอย่างไร
ReadyPlanet.com
ปัญหาค่ามาตรฐานน้ำทิ้งไม่ผ่านเกณฑ์

         

                 

จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย ( จุลินทรีย์ที่มีประโยชนชน์ในการย่อยสลายของเสีย ) คือสิ่งที่สำคัญมากที่สุดในการบำบัดน้ำเสียและในระบบบำบัดน้ำเสียทุกๆระบบ เป็นตัวจักรที่สำคัญและมีบทบาทมากที่สุดในการบำบัดน้ำเสียจากทุกๆแหล่งและทุกๆระบบบำบัด

ปัญหาใหญ่ของการบำบัดน้ำเสียและระบบบำบัดน้ำเสียในทุกๆระบบก็คือ ปัญหาค่ามาตรฐานน้ำทิ้งไม่ผ่านเกณฑ์กำหนด เป็นปัญหาที่ทุกๆระบบบำบัดน้ำเสียไม่พึงปรารถนา และยังเป็นปัญหาที่พบมากที่สุด หรือแทบเกือบจะทุกแห่ง โดยเฉพาะอาคารชุดคอนโดมิเนี่ยมและอาคารสำนักงานทั่วๆไป โรงแรม รีสอร์ท ฯลฯ ไม่รู้จะแก้ปัญหาอย่างไร ? ขอให้ท่านอ่านบทความค่อไปนี้ให้จบ เพื่อท่านจะได้รู้ถึงที่มาและสาเหตุของค่ามาตรฐานน้ำทิ้งระบบบำบัดน้ำเสียของท่านไม่ผ่านเกณฑ์ที่กำหนดของทางราชการ จะดำเนินการต่อไปอย่างไร ? และจะทำการแก้ไขอย่างไร ? 

ค่ามาตรฐานน้ำทิ้ง คืออะไร ? มีอะไรบ้าง ?

ค่ามาตรฐานน้ำทิ้งเป็นค่าที่ถูกกำหนดขึ้นโดยส่วนราชการด้านสิ่งแวดล้อม ซึ่งค่ามาตรฐานน้ำทิ้งแต่ละแหล่งอาจจะไม่เท่ากันหรือเท่ากันเป็นบางค่า เช่น ค่ามาตรฐานน้ำทิ้งจากอาคารชุดและอาคารสำนักงานทั่วๆไป ( ด้านล่าง )

 

ตัวอย่างค่ามาตรฐานน้ำทิ้งจากอาคารสำนักงานประเภทต่างๆ ( ภาพบน ) ค่าพารามิเตอร์มาตรฐานน้ำทิ้งแต่ละค่าจะแตกต่างกันออกไปตามเกณฑ์ที่คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมกำหนดขึ้น  ระบบบำบัดน้ำเสียทุกๆระบบจะมีค่ามาตรฐานน้ำทิ้งจากส่วนกลางเป็นเกณฑ์มาตรฐาน น้ำเสียที่บำบัดในระบบบำบัดน้ำเสียของท่านมีค่ามาตรฐานน้ำทิ้งแต่ละค่าผ่านเกณฑ์หรือไม่ ซึ่งส่วนใหญ่ยังคงไม่ผ่านเกณฑ์เป็นจำนวนมาก ค่ามาตรฐานน้ำทิ้งที่ไม่ผ่านเกณฑ์ถ้ามีการปล่อยทิ้งออกสู่สิ่งแวดล้อมอาจสร้างปัญหา ทั้งมลภาวะและมลพิษให้กับสิ่งแวดล้อมสาธารณะได้ทุกเมื่อ

  ที่มาหรือสาเหตุของค่ามาตรฐานน้ำทิ้งไม่ผ่านเกณฑ์มาจากสาเหตุใด ? 

ระบบบำบัดน้ำเสียในประเทศไทยที่ติดตั้งอยู่ในแต่ละแห่ง ส่วนใหญ่มากกว่า 90% เป็นระบบบำบัดน้ำเสียแบบเติมอากาศหรือ AS ( Activated  Sludge ) ระบบนี้จะมีส่วนสำคัญอยู่ 2 ส่วน คือ  ส่วนของการเติมอากาศ ( บ่อเติมอากาศ ) และส่วนการตกตะกอน ( บ่อตกตะกอน ) ระบบบำบัดน้ำเสียแบบเติมอากาศนี้จะใช้จุลินทรีย์ย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียในระบบบำบัดเป็นหลัก และเป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนเป็นส่วนใหญ่ จุลินทรีย์กลุ่มนี้ต้องการออกซิเจนในการดำรงชีพและการเจริญเติบโตขยายเซลล์รวมถึงการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียต่างๆในน้ำเสีย ถ้าในน้ำเสียนั้นปราศจากอากาศออกซิเจนละลายอยู่ในน้ำเสียแล้ว ก็จะไม่มีจุลินทรีย์กลุ่มนี้ทำงานย่อยสลายของเสีย ( ขาดอากาศออกซิเจนละลายอยู่ในน้ำเสียไม่ได้ ) ถ้าไม่มีออกซิเจนละลายอยู่ในน้ำเสียเลย จุลินทรีย์กลุ่มนี้จะตายยกบ่อบำบัดน้ำเสียได้ทุกเวลา นี่คือเหตุผลที่ต้องมีการเติมอากาศออกซิเจนลงในบ่อเติมอากาศ ( ในระบบบำบัดน้ำเสีย ) ในบ่อบำบัดน้ำเสียจุดที่มีการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียเกิดขึ้นมากที่สุดก็คือ บ่อเติมอากาศนี่เอง เพราะจุดนี้จะมีปริมาณกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายของเสียรวมตัวกันเป็นจำนวนมาก ( จากการเติมอากาศให้น้ำเสีย ) จึงส่งผลให้ปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียต่างๆในน้ำเสียเกิดขึ้นมากตามไปด้วย ยิ่งปฏิกิริยาการย่อยสลายของเสียเกิดขึ้นได้สมบูรณ์มากเท่าใด ก็จะส่งผลดีต่อค่ามาตรฐานน้ำทิ้งโดยตรง ในทางตรงกันข้าม ถ้าของเสียในน้ำเสียมีมาก ( มีสสารทั้งสารอินทรีย์และสารอนินทรีย์เจือปนมาก ) ในขณะที่ปริมาณจุลินทรีย์ย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียในบ่อเติมอากาศมีปริมาณน้อย ( เมื่อเปรียบเทียบกับปริมาณของน้ำเสีย ) ก็จะส่งผลกระทบโดยตรงต่อค่ามาตรฐานน้ำทิ้งสูงขึ้นทันที เพราะของเสียต่างๆในน้ำเสียนั้นๆถูกย่อยสลายน้อย ของเสียส่วนใหญ่ยังคงไม่ได้รับการบำบัดที่สมบูรณ์ก่อนปล่อยทิ้งออกสู่สิ่งแวดล้อม ค่ามาตรฐานน้ำทิ้งจึงไม่ผ่านเกณฑ์กำหนด จะเห็นได้ว่า ตัวแปรที่สำคัญที่สุดในกระบวนการบำบัดน้ำเสียในระบบบำบัดก็คือ จุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียนั่นเอง ถ้ามีปริมาณมากเป็นสิ่งที่ดี แต่ถ้ามีปริมาณน้อยไม่เพียงพอต่อการย่อยสลายของเสียต่างๆในน้ำเสียก็จะเกิดปัญหาค่ามาตรฐานน้ำทิ้ง ค่าต่างๆไม่ผ่านเกณฑ์ ( น้ำเสียที่บำบัดในระบบบำบัดยังไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานน้ำทิ้ง )

ข้อควรปฏิบัติและควรระวังในการบำรุงและรักษาระบบบำบัดน้ำเสีย

- ทำความสะอาดระบบอย่างสม่ำเสมอ  Reboot ระบบอย่างน้อยปีละครั้ง

- หมั่นตรวจเช็คระบบแต่ละจุดอยู่เป็นประจำ

- อย่าให้สารเคมีที่เป็นกรดหรือด่างที่มีฤทธิ์กัดกร่อนหรือทำลายล้างสูงเข้าสู่ระบบ เพราะจะทำให้จุลินทรีย์ในระบบตายยกบ่อได้ตลอดเวลา

- หมั่นตรวจสอบค่า BOD และค่า DO ประจำวัน เพราะจะทำให้รู้ถึงสุขภาพของระบบบำบัดน้ำเสียว่ายังมีประสิทธิภาพอยู่หรือไม่ ค่า BOD และ ค่า DO เป็นตัวบอกสัญญาณของระบบบำบัดได้ดี ถ้าค่า BOD >= 100 mg/l คือน้ำเน่าเสีย และถ้าค่า DO ต่ำกว่า  2 mg/l น้ำเริ่มเน่าเสีย จุลินทรีย์กลุ่มที่ใช้ออกซิเจนในการดำรงชีพอยู่ไม่ได้ จะทำให้การแก้ไขปัญหาได้ทันเวลา

-  เช็คความหนาแน่นของปริมาณจุลินทรีย์ ( ถ้าทำได้ ) แต่ค่อนข้างยุ่งยากและใช้ทักษะขั้นสูง

-  หมั่นตรวจเช็คเครื่องเติมอากาศอยู่เป็นประจำ การเติมอากาศทำได้ทั่วถึงทั้งบ่อหรือไม่ กำลังวัตต์หรือกำลังแรงม้าในการเติมอากาศเพียงพอหรือไม่ การกระจายออกซิเจนทั่วถึงทั้งบ่อและก้นบ่อหรือไม่ สภาวะของน้ำเสียเป็นกรดหรือด่าง ถ้าค่า pH ต่ำมากๆจะส่งผลให้จุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนในระบบตายเกลี้ยงบ่อได้ ค่าพารามิเตอร์ที่ควรตรวจวัดเป็นประจำวัน เช่น BOD , DO และ pH โดยใช้เครื่องวัดดิจิตอลเป็นเครื่องมือ ค่า pH ที่เหมาะสมสำหรับการดำรงชีพของกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนจะอยู่ที่ประมาณ 6 - 8

น้ำเสียที่เกิดขึ้นเราไม่สามารถควบคุมได้ แต่การบำบัดน้ำเสียและระบบบำบัดน้ำเสียเราสามารถควบคุมได้  ถ้าไม่มีการควบคุมเลยหรือการควบคุมและการดูแลบำรุงรักษาหละหลวมก็จะได้ค่ามาตรฐานน้ำทิ้งไม่ผ่านเกณฑ์ติดตามมา แต่ในบางกรณีในระบบบำบัดน้ำเสียก็มีข้อจำกัดบางประการเกิดขึ้น เช่น การออกแบบระบบตั้งแต่แรกมีปัญหาออกแบบไม่เหมาะสม พื้นที่จำกัดไม่เหมาะกับการวางระบบ ระบบเก่าไม่มีคนดูแลและบำบรุงรักษาอย่างต่อเนื่อง ทางที่ดีวางระบบการบริหารจัดการใหม่ทั้งหมด ปรังปรุงและแก้ไขระบบเดิมให้ดีขึ้นในแต่ละจุดที่มีปัญหา เพื่อฟื้นฟูทำให้ระบบบำบัดน้ำเสียมีประสิทธิภาพกลับมาเดินระบบใหม่อีกครั้ง ซึ่งสามารถทำได้

  สรุปที่มาหรือสาเหตุของปัญหามาตรฐานน้ำทิ้งไม่ผ่านเกณฑ์กำหนด

- ปริมาณจุลินทรีย์ย่อยสลายของเสียในระบบมีน้อย

- สิ่งแวดล้อมในระบบนั้นๆไม่เอื้อต่อการดำรงชีพของจุลินทรีย์

- การย่อยสลายของเสียในระบบเกิดขึ้นน้อย

- เครื่องจักรกลบกพร่องหรือด้อยประสิทธิภาพ

- ขาดการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ

แล้วจะแก้ไขปัญหานี้อย่างไร ? ทางเลือกที่

1.  เพิ่มประสิทธิภาพบ่อเติมอากาศให้เต็มประสิทธิภาพให้ได้มากที่สุด เพื่อให้การย่อยสลายเกิดมากที่สุดและสมบูรณ์มากที่สุด

2.  เพิ่มหรือเติมปริมาณจุลินทรีย์ย่อยสลายเข้าไปในระบบ  ไม่ว่าจะเป็นกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนและไม่ใช้ออกซิเจน เพื่อเพิ่มอัตราการย่อยสลายของเสียให้มากขึ้นและเร็วขึ้น ให้เหลือกากตะกอนส่วนเกิน ( Excess Sludge  ) เหลือน้อยที่สุดหรือแทบไม่เหลือเลยยิ่งเป็นการดี ซึ่งจะส่งผลดีต่อค่ามาตรฐานน้ำทิ้งโดยตรง

   

เพิ่มประสิทธิภาพในการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียด้วย จุลินทรีย์หอมคาซาม่า กลุ่มจุลินทรีย์ที่ไม่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสีย สามารถทำงานได้ทั้งในสภาวะไร้อากาศและมีอากาศ ( ทำงานย่อยสลายของเสีย ) ซึ่งเป็นการลดภาระการทำงานของกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลัก จากภาพบนจะเห็นได้ว่า เมื่อเติมจุลินทรีย์หอมคาซาม่าลงในบ่อน้ำเสียบ่อที่ 1 ปฏิกิริยาการย่อยสลายของเสียในน้ำเสียเกิดขึ้นทันทีก่อนที่จะผ่านต่อไปยังบ่อเติมอากาศ( บ่อที่ 2 ) จะเห็นได้ว่าการบำบัดน้ำเสียและย่อยสลายของเสียในน้ำเสียเกิดขึ้นสองชั้น ( Double  Treatment ) ของเสียถูกย่อยสลายได้มากขึ้น ปฏิกิริยาการย่อยสลายเร็วขึ้น ทำให้ค่ามาตรฐานน้ำทิ้งในบ่อตกตะกอนลดลง ( บ่อที่ 3 ) ค่ามาตรฐานน้ำทิ้งผ่านได้ง่ายขึ้น ตะกอนส่วนเกิน ( Excess  Sludge ) ก็จะน้อยลง เป็นการเพิ่มประสิทธิภาพการย่อยสลายของเสียในน้ำเสียให้ดีมากยิ่งขึ้น ของเสียต่างๆในน้ำเสียจึงถูกปฏิกิริยาย่อยสลายด้วยจุลินทรีย์ทั้งสองกลุ่มในบ่อที่ 1 และบ่อที่ 2 ตามลำดับ

          

ปฏิกิริยาการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียของกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจน( สีฟ้าบน) และกลุ่มจุลินทรีย์หอมคาซาม่าไม่ใช้ออกซิเจน (สีเขียวอ่อนด้านล่าง ) ของเสียและน้ำเสียจะแปรเปลี่ยนรูปไปเป็นตามสมการนี้  ==>  น้ำ  +  พลังงาน  + CO2  +CH4

ยิ่งจุลินทรีย์ย่อยสลายของเสียต่างๆได้ทั้งหมดอย่างสมบูรณ์ 100 % จะเหลือสสารตามสมการนี้ ==>> น้ำ  +  พลังงาน  + CO2  +CH4

จะเห็นได้ว่าจากปฏิกิริยาการย่อยสลายที่สมบูรณ์ของจุลินทรีย์ย่อยสลายจะไม่เหลือของเสียเลย  แต่ในความเป็นจริงย่อยสลายได้ไม่หมดสมบูรณ์ 100% อาจจะมีตะกอนละเอียดตกค้างบ้างบางส่วน ถ้าจะให้สมบูรณ์ 100% ต้องบำบัดซ้ำหลายๆครั้งและหลายๆชั้นการบำบัด ซึ่งค่อนข้างยากไปอีกขั้นหนึ่ง ต้องใช้งบลงทุนค่อนข้างสูง

           

เพิ่มประสิทธิภาพระบบบำบัดน้ำเสียและเสริมประสิทธิภาพการบำบัดน้ำเสียด้วย จุลินทรีย์หอมคาซาม่า ได้ประโยชน์ทั้งการบำบัดน้ำเสียและการกำจัดกลิ่นในเวลาเดียวกัน สั่งซื้อจุลินทรีย์หอมคาซาม่าจากที่นี่  ท่านจะได้ที่ปรึกษาฟรีๆ ให้คำแนะนำทางด้านเทคนิคต่างๆในระบบบำบัดน้ำเสียฟรีๆ ตลอดระยะเวลาที่สั่งซื้อ โดยไม่จำกัดจำนวนครั้งคำปรึกษา ช่วยประหยัดงบประมาณค่าที่ปรึกษาในแต่ละครั้ง 



         

ดูแต่ละหัวข้อ กรุณาคลิกที่ลิ้งค์ด้านล่างนี้

 

การบำบัดน้ำเสีย/ระบบบำบัดน้ำเสียของคอนโดมิเนียม กดดูที่นี่..

วิธีดับกลิ่นน้ำเน่าเหม็นและน้ำเน่าเสีย คลิกดูที่นี่...  

ดับกลิ่นห้องน้ำส่งกลิ่นเหม็น คลิกดูที่นี่...

ส้วมเหม็นทำอย่างไร? แก้ไขอย่างไร ? คลิกดูที่นี่..

ดับกลิ่นบ่อส้วมเหม็น บ่อส้วมมีกลิ่น คลิกดูที่นี่...

ชักโครกส่งกลิ่นเหม็น ท่อน้ำทิ้งมีกลิ่นเหม็น บ่อเกรอะส่งกลิ่นเหม็น คลิกที่นี่..

ดับกลิ่นส้วมเหม็น/ดับกลิ่นห้องน้ำเหม็น/ดับกลิ่นบ่อส้วมเหม็น คลิกที่นี่..

ดับกลิ่นสุนัขและสัตว์เลี้ยงทุกๆชนิด คลิกดูที่นี่..
 ปัญหาบ่อเติมอากาศส่งกลิ่นเหม็นเกิดจากสาเหตุใด ? คลิกดูที่นี่..
จุลินทรีย์ดับกลิ่นรถขยะ / ดับกลิ่นรถขนขยะเหม็น คลิกดูที่นี่.. 
บำบัดน้ำเสียและการบำบัดกลิ่นในโรงงานไอศครีมทุกๆแห่ง คลิกที่นี่... 

 การแก้ปัญหาน้ำเสียและกลิ่นในโรงงานขนมจีนทุกๆแห่ง คลิกดูที่นี่..

การดูแลและบำรุงรักษา/การบริหารจัดการระบบบำบัดน้ำเสีย คลิกดูที่นี่.. 

 วิธีลดค่า BOD , SS , TDS ในโรงงานปลากระป๋อง คลิกดูที่นี่..
จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย/จุลินทรีย์ที่ใช้ในการบำบัดน้ำเสีย คลิกที่นี่...

ดับกลิ่นและบำบัดน้ำเสียในล้งปลาทุกๆแห่ง คลิกดูที่นี่.. 
จุลินทรีย์ดับกลิ่นและบำบัดน้ำเสียในโรงงานผลิตขนม คลิกที่นี่.. 
จุลินทรีย์หอมดับกลิ่นและบำบัดน้ำเสียในฟาร์มเลี้ยงหมู คลิกที่นี่..
ดับกลิ่นและบำบัดน้ำเสียในล้งปลา/โรงงานทำปลา คลิกดูที่นี่..
การกำจัดไขมันและน้ำมันแบบง่ายๆ( FOG ) คลิกดูที่นี่.. 

การบำบัดน้ำเสียของคอนโดมิเนียม คลิกดูที่นี่.. 

จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียทำงานย่อยสลายของเสียอย่างไร คลิกดูที่นี่.. 

สัญญาณจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียในบ่อบำบัดมีปริมาณน้อย คลิกดูที่นี่.. 

วิธีการกำจัดสารอินทรีย์ที่เจือปนอยู่ในน้ำเสีย คลิกดูที่นี่.. 

การบำบัดน้ำเสียโดยทั่วไป คลิกดูที่นี่.. 

การบำบัดน้ำเสียของแต่ละหน่วยงาน คลิกดูที่นี่.. 

ระบบบำบัดน้ำเสีย / การบำบัดน้ำเสีย คลิกดูที่นี่.. 

บำบัดน้ำเสีย / วิธีบำบัดน้ำเสีย คลิกดูที่นี่..

บำบัดน้ำเสีย/ระบบบำบัดน้ำเสีย คลิกดูที่นี่..

การบำบัดน้ำเสีย/การดับกลิ่นด้วยจุลินทรีย์หอมคาซาม่า  คลิกที่นี่.. 

ประโยชน์ของการใช้จุลินทรีย์หอมคาซาม่าในบ่อเกรอะบ่อส้วม  คลิกที่นี่.. 

จุลินทรีย์ 2 in 1 (จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย & จุลินทรีย์ดับกลิ่น)คลิกดูที่นี่..  

ทำไมต้องเติจุลินทรีย์ลงไปในระบบบำบัดหรือบ่อบำบัด คลิกดูที่นี่.. 

จุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสีย & จุลินทรีย์หอมดับกลิ่น คลิกดูที่นี่..

จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย ซื้อที่ไหน  คลิกที่นี่.. 

วิธีดับกลิ่นส้วมเต็ม(ส้วมเหม็น) คลิกดูที่นี่...

ดับกลิ่นคาวปลาในโรงงาน / ดับกลิ่นคาวเลือดปลา คลิกดูที่นี่..

เลี้ยงหมูแบบเกษตรอินทรีย์ชีวภาพ  คลิกดูที่นี่..

 ดับกลิ่นบ่อส้วมเหม็น( ดับกลิ่นบ่อเกรอะเหม็น ) คลิกดูที่นี่.. 

จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย  คลิกดูที่นี่...

จุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสีย คลิกดูที่นี่....       

 จุลินทรีย์ดับกลิ่น  คลิกดูข้อมูลที่นี่... 

จุลินทรีย์หอมดับกลิ่น / จุลินทรีย์หอมกำจัดกลิ่น คลิกดูข้อมูลที่นี่.... 

จุลินทรีย์หอม  คลิกดูข้อมูลที่นี่.... 

น้ำยาดับกลิ่น / น้ำยากำจัดกลิ่น ที่ไม่ใช่สารเคมี คลิกที่นี่.. 

ขายจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียที่มีกลิ่นหอม  คลิกที่นี่.. 

การบำบัดน้ำเสียและดับกลิ่นในบ่อเกรอะ  คลิกที่นี่...

วิธีการลดค่า BOD,SS,TDS ในเบื้องต้นแบบง่ายๆ คลิกที่นี่..

จุลินทรีย์ดับกลิ่นและบำบัดน้ำเสียในฟาร์มเลี้ยงหมู คลิกที่นี่..

จุลินทรีย์ดับกลิ่นขยะเหม็น  คลิกที่นี่..

จุลินทรีย์ที่ใช้ในการบำบัดน้ำเสีย คลิกดูที่นี่..

จำหน่ายจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย/ขายจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย  คลิกที่นี่.. 

em บำบัดน้ำเสีย/  em หอมบำบัดน้ำเสีย คลิกที่นี่..  

em ดับกลิ่น / em หอมดับกลิ่น คลิกที่นี่.. 

em ดับกลิ่นส้วม ดับกลิ่นบ่อส้วมเหม็น คลิกดูที่นี่..  

จุลินทรีย์ดับกลิ่นส้วมดับกลิ่นบ่อส้วมเหม็น  คลิกดูที่นี่.. 

จุลินทรีย์ดับกลิ่นห้องน้ำ คลิกดูที่นี่...  

วิธีดับกลิ่นห้องน้ำเหม็น/ห้องน้ำมีกลิ่นแรง คลิกที่นี่...

วิธีดับกลิ่นบ่อเกรอะเหม็นบ่อส้วมเหม็น  คลิกดูที่นี่..

จุลินทรีย์ดับกลิ่นบ่อเกรอะ/ดับกลิ่นห้องน้ำ/บำบัดน้ำเสีย คลิกที่นี่.. 

การบริหารจัดการบำบัดน้ำเสียโดยรวมของระบบบำบัด คลิกที่นี่...  

จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย/จุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสีย  คลิกที่นี่...

ปัญหาระบบบำบัดน้ำเสีย & ปัญหาการบำบัดน้ำเสีย  คลิกที่นี่...  

ปัญหาค่ามาตรฐานน้ำทิ้งไม่ผ่านเกณฑ์มาจากสาเหตุใด ? คลิกดูที่นี่...

ระบบบำบัดน้ำเสียของอาคารสำนักงานและอาคารชุดทั่วๆไป คลิกที่นี่...

ค่า BOD และค่า DO มีความสำคัญอย่างไรต่อระบบบำบัดน้ำเสีย ? คลิกที่นี่...

ลดค่า  BOD  ทำอย่างไร ?  อยากรู้ คลิกดูที่นี่.... 

 การบริหารจัดการบำบัดน้ำเสียในโรงงานอุตสาหกรรม คลิกดูที่นี่.. 

การบริหารจัดการบ่อบำบัดน้ำเสียและระบบบำบัดน้ำเสียของคอนโด คลิกที่นี่..

เพิ่มประสิทธิภาพบ่อบำบัดน้ำเสียและระบบบำบัดน้ำเสียทุกๆระบบ  คลิกที่นี่...   

จุลินทรีย์หอม kasama ( จุลินทรีย์หอมคาซาม่า ) คลิกที่นี่..

จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย คืออะไร ? คลิกดูข้อมูลที่นี่.... 

จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียมีความสำคัญอย่างไร ? อยากรู้คลิกดูข้อมูลที่นี่...