จุลินทรีย์ที่ใช้ในการบำบัดน้ำเสีย
# การใช้จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียอย่างถูกต้องและเหมาะสม ข้อแนะนำสำหรับผู้ที่จะนำจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียไปใช้งาน ควรมีความรู้และความเข้าใจในเรื่องที่จะนำไปใช้งานในแต่ละด้าน การใช้เป็นและใช้ถึง ใช้อย่างถูกต้องและตรงจุด จึงจะเกิดประโยชน์สูงสุดกับผู้ใช้งานจริง จุลินทรีย์ที่ใช้ในการบำบัดน้ำเสียย่อยสลายของเสีย ( จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย ) สำหรับจุลินทรีย์ที่ใช้ในการบำบัดน้ำเสีย จะเป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์และมีคุณสมบัติในการย่อยสลายของเสียต่างๆโดยเฉพาะเท่านั้น ซึ่งแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มด้วยกันดังต่อไปนี้ .- 1. กลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสีย ( มีคุณสมบัติในการย่อยสลายของเสียต่างๆ ) ที่ใช้ออกซิเจนในการดำรงชีพและการเจริญเติบโตขยายเซลล์ รวมถึงการนำออกซิเจนไปใช้ในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสีย ( Aerobic Bacteria ) จุลินทรีย์กลุ่มนี้จะขาดออกซิเจนไม่ได้ หรือออกซิเจนมีน้อยก็มีผลต่อการเจริญเติบโต ออกซิเจนและอาหารจะเป็นสิ่งจำเป็นมากสำหรับจุลินทรีย์กลุ่มนี้ ถ้าขาดออกซิเจนก็ทำงานไม่ได้และตายได้ตลอดเวลา ดังนั้น ในระบบบำบัดน้ำเสีย โดยเฉพาะระบบบำบัดน้ำเสียแบบเติมอากาศ ( Activated Sludge : AS ) จะต้องเติมอากาศออกซิเจนลงไปในน้ำเสีย เพื่อเพิ่มออกซิเจนในน้ำเสียนั้นๆให้กับจุลินทรีย์กลุ่มนี้เพื่อนำไปใช้ในการดำรงชีพเจริญเติบโต และนำไปใช้ในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียต่างๆในน้ำเสีย จุลินทรีย์กลุ่มนี้เป็นที่นิยมมากที่สุดในการนำไปใช้บำบัดน้ำเสียในทุกๆระบบบำบัดในปัจจุบัน สาเหตุเพราะสามารถดึงจากธรรมชาติมาใช้งานได้ง่าย แต่มีข้อเสียตรงที่ควบคุมยาก ต้องออกแบบระบบบำบัดและสร้างสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสมกับการดำรงชีพจุลินทรีย์กลุ่มนี้จึงจะอยู่ได้และทำงานย่อยสลายของเสียได้ดี ถ้ามีปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อจุลินทรีย์กลุ่มนี้เมื่อใด จะส่งผลให้จุลินทรีย์ในระบบบำบัดหรือในบ่อบำบัดลดลงทันทีหรืออาจตายยกบ่อบำบัดได้ตลอดเวลา เช่น ในน้ำเสียมีออกซิเจนต่ำมาก ( ค่า DO ต่ำ ) จุลินทรีย์กลุ่มนี้อาจตายยกบ่อได้หรือเหลือน้อยมาก หรือกรณีที่ค่า pH สูงมาก หรือ ต่ำมากๆ จะส่งผลให้จุลินทรีย์กลุ่มนี้ตายยกบ่อได้ทันที นี้คือข้อจำกัดและเงื่อนไขของจุลินทรีย์กลุ่มนี้บางส่วน ซึ่งค่อนข้างอ่อนไหวต่อสภาวะแวดล้อมในระบบบำบัด 2. กลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสีย ( มีคุณสมบัติในการย่อยสลายของเสียต่างๆ ) ที่ไม่ใช้ออกซิเจนในการดำรงชีพและการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสีย ( Anaerobic Bacteria ) จุลินทรีย์กลุ่มนี้จะมีความเหมือนบางประการกับจุลินทรีย์กลุ่มแรกก็คือ มีคุณสมบัติในการย่อยสลายของเสียต่างๆได้เหมือนกัน แต่จะมีความแตกต่างในเรื่องของการดำรงชีพและการทำปฏิกิริยาย่อยสลายที่ไม่ใช้ออกซิเจนเหมือนกลุ่มแรก รวมทั้งความสามารถทนกับแรงต้านทานในสภาวะแวดล้อมที่วิกฤตได้ดี ในน้ำเสียไม่มีออกซิเจนเลย หรือ ค่า pH ต่ำมากหรือสูงมาก จุลินทรีย์กลุ่มนี้ก็สามารถอยู่ได้และทำงานย่อยสลายได้ตามปกติ ซึ่งจะแตกต่างกับจุลินทรีย์กลุ่มแรก ( กลุ่มที่ใช้ออกซิเจน ) ที่ไม่สามารถต้านทานสภาวะวิกฤตได้ นี่คือความแตกต่างบางส่วนของจุลินทรีย์กลุ่มนี้กับจุลินทรีย์กลุ่มที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลัก แต่ข้อเสียหรือจุดด้อยของจุลินทรีย์กลุ่มนี้ก็คือ ดึงมาใช้งานได้ค่อนข้างยาก ไม่ค่อยรวมกันเป็นกลุ่มก้อน ในธรรมชาติควบคุมได้ยากเช่นเดียวกันกับจุลินทรีย์กลุ่มแรก ดังนั้น จึงมีผู้ที่ทำการสังเคราะห์จุลินทรีย์กลุ่มนี้ขึ้นมาไว้ในจุดเดียวกันเป็นกลุ่มก้อนปริมาณมากเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ หนึ่งในประโยชน์ที่นำไปใช้นั้นก็คือ การนำไปใช้ในการบำบัดน้ำเสียย่อยสลายของเสีย จุลินทรีย์กลุ่มนี้สังเคราะห์ขึ้นในห้องปฏิบัติการจะได้ความหนาแน่นปริมาณจุลินทรีย์มากตามที่ต้องการ ซึ่งขั้นตอนต่างๆในการสังเคราะห์รวมกลุ่มจุลินทรีย์กลุ่มนี้จะทำได้ค่อนข้างยุ่งยากกว่าจุลินทรีย์กลุ่มแรก ( ที่ใช้ออกซิเจน ) ที่สามารถดึงมาใช้งานได้ง่ายกว่ากลุ่มนี้ ( กลุ่มที่ไม่ใช้ออกซิเจน ) นี่คือ ความแตกต่างของจุลินทรีย์ย่อยสลายทั้งสองกลุ่มนี้บางส่วน ในกระบวนการบำบัดน้ำเสียขั้นตอนสุดท้าย จะพึ่งพาและอาศัยจุลินทรีย์ทั้งสองกลุ่มนี้ ( กลุ่มที่ใช้ออกซิเนและกลุ่มที่ไม่ใช้ออกซิเจน ) เป็นตัวแปรเปลี่ยนสถานะของสสารต่างๆ ( ของเสีย ) ที่เจือปนและปนเปื้อนอยู่ในน้ำเสียไปเป็น =>> น้ำ + พลังงาน + CO2 ตามสมการจำลองด้านล่างนี้
จากสมการจำลองด้านบนจะเห็นได้ว่า จุลินทรีย์จะเข้าทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียและแปรสถานะของเสียไปเป็น น้ำ พลังงานและก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในขั้นตอนสุดท้าย ที่สุดของที่สุดของปฏิกิริยาก็คือไม่เหลืออะไรเลย ( ว่างเปล่า ) แต่ในการย่อยสลายของเสียเหล่านี้ต้องใช้ระยะเวลาที่แตกต่างกันออกไป ของเสียที่มีขนาดเล็กๆก็จะใช้ระยะเวลาในการย่อยสลายได้รวดเร็ว แต่ถ้าเป็นของเสียที่มีขนาดใหญ่ชิ้นใหญ่ ก็จะต้องใช้เวลาในการย่อยสลายนานขึ้น อาจจะเป็นปีหรือหลายร้อยปีเหมือนการย่อยสลายจำพวกพลาสติกก็เป็นไปได้ ดังนั้น ในการบำบัดน้ำเสียที่ใช้จุลินทรีย์ในการย่อยสลายของเสียจึงต้องมีการบำบัดในขั้นต้นก่อน นั่นก็คือ การคิดแยกของเสียที่มีขนาดใหญ่ออกจากระบบบำบัดก่อน เพื่อให้เหลือเฉพาะของเสียที่มีขนาดเล็กที่จุลินทรีย์สามารถย่อยสลายได้อย่างรวดเร็ว นี่คือ กระบวนการบำบัดน้ำเสียที่ใช้จุลินทรีย์ย่อยสลายของเสีย บรรดาของเสียต่างๆทั้งหมดบนโลกใบนี้ ล้วนต้องพึ่งพาและอาศัยจุลินทรีย์กลุ่มที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายทั้งสิ้น ไม่ว่าจะเป็นกลุ่มที่ใช้ออกซิเจนและไม่ใช้ออกซิเจนที่สามารถทำงานย่อยสลายของเสียต่างๆร่วมกันได้ นี่คือที่มาของจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียหรือจุลินทรีย์ที่ใช้ในการบำบัดน้ำเสีย ซึ่งมีอยู่ในธรรมชาติดิน น้ำ และอากาศ แต่อยู่แบบกระจัดกระจายไม่รวมกันเป็นกลุ่มก้อน ดังนััน จึงต้องมีการออกแบบระบบและสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสม เพื่อดึงจุลินทรีย์เหล่านี้มาใช้งานในการบำบัดน้ำเสียย่อยสลายของเสียในระบบบำบัด การบำบัดน้ำเสียและระบบบำบัดน้ำเสียจะมีประสิทธิภาพมากหรือน้อยจึงขึ้นอยู่กับจุลินทรีย์ย่อยสลายในระบบบำบัดเป็นหลัก ค่ามาตรฐานน้ำทิ้งจะผ่านเกณฑ์กำหนดหรือไม่ผ่านเกณฑ์กำหนดก็อยู่ตรงที่การควบคุมจุลินทรีย์ย่อยสลายได้ดีหรือไม่
จุลินทรีย์หอมคาซาม่า ( จุลินทรีย์หอม kasama ) เป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสีย ชนิดไม่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลาย สังเคราะห์ขึ้นจากกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์หลากหลายสายพันธุ์ มีคุณสมบัติในการย่อยสลายของเสีย ( บำบัดน้ำเสีย ) และการดับกลิ่นกำจัดกลิ่นไม่พึงประสงค์ต่างๆที่เกิดจากสารอินทรีย์ ซึ่งจัดอยู่ในกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ไม่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสีย เพิ่มและเสริมประสิทธิภาพในการบำบัดน้ำเสียระบบบำบัดน้ำเสียให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นด้วย จุลินทรีย์หอมคาซาม่า จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียที่มีกลิ่นหอม นำไปใช้ในการบำบัดน้ำเสียได้ประโยชน์ทั้งการบำบัดน้ำเสียและการดับกลิ่นกำจัดกลิ่นในบ่อบำบัดน้ำเสียในเวลาเดียวกันทันที ใช้บำบัดน้ำเสียได้ทุกๆระบบบำบัด ( ในทั้ง 6 ระบบ ) ใช้จุลินทรีย์หอมคาซาม่าเสริมจุดอ่อนของจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนในจุดที่ออกซิเจนเข้าไปไม่ถึง โดยเฉพาะก้นบ่อบำบัดน้ำเสีย, การเติมอากาศได้ไม่ทั่วถึงทั้งบ่อบำบัด, เครื่องเติมอากาศเสียหรือกำลังเติมอากาศไม่เพียงพอ ฯลฯ ปัญหาเหล่านี้แก้ไขได้ด้วยการใช้จุลินทรีย์หอมคาซาม่าไปเพิ่มจุดแข็ง เพิ่มปริมาณจุลินทรีย์ย่อยสลายในระบบบำบัดและบ่อบำบัด ให้การบำบัดน้ำเสียย่อยสลายของเสียต่างๆดำเนินไปอย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย ราคา ราคาจำหน่ายจุลินทรีย์หอมคาซาม่า แกลลอนบรรจุ 20 ลิตร แกลลอนละ 1,200 บาท จัดส่งฟรีทั่วประเทศ พร้อมให้คำแนะนำและคำปรึกษาฟรีๆในการบำบัดน้ำเสียและระบบบำบัดน้ำเสีย ปัญหาทางด้านเทคนิคต่างๆในระบบบำบัดน้ำเสีย ปรึกษาเราได้ที่นี่...
ดูแต่ละหัวข้อ กรุณาคลิกที่ลิ้งค์ด้านล่างนี้
การบำบัดน้ำเสีย/ระบบบำบัดน้ำเสียของคอนโดมิเนียม กดดูที่นี่.. วิธีดับกลิ่นน้ำเน่าเหม็นและน้ำเน่าเสีย คลิกดูที่นี่... ดับกลิ่นห้องน้ำส่งกลิ่นเหม็น คลิกดูที่นี่... ส้วมเหม็นทำอย่างไร? แก้ไขอย่างไร ? คลิกดูที่นี่.. ดับกลิ่นบ่อส้วมเหม็น บ่อส้วมมีกลิ่น คลิกดูที่นี่... ชักโครกส่งกลิ่นเหม็น ท่อน้ำทิ้งมีกลิ่นเหม็น บ่อเกรอะส่งกลิ่นเหม็น คลิกที่นี่.. ดับกลิ่นส้วมเหม็น/ดับกลิ่นห้องน้ำเหม็น/ดับกลิ่นบ่อส้วมเหม็น คลิกที่นี่.. ดับกลิ่นสุนัขและสัตว์เลี้ยงทุกๆชนิด คลิกดูที่นี่.. การแก้ปัญหาน้ำเสียและกลิ่นในโรงงานขนมจีนทุกๆแห่ง คลิกดูที่นี่.. การดูแลและบำรุงรักษา/การบริหารจัดการระบบบำบัดน้ำเสีย คลิกดูที่นี่.. วิธีลดค่า BOD , SS , TDS ในโรงงานปลากระป๋อง คลิกดูที่นี่.. ดับกลิ่นและบำบัดน้ำเสียในล้งปลาทุกๆแห่ง คลิกดูที่นี่.. การบำบัดน้ำเสียของคอนโดมิเนียม คลิกดูที่นี่.. จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียทำงานย่อยสลายของเสียอย่างไร คลิกดูที่นี่.. สัญญาณจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียในบ่อบำบัดมีปริมาณน้อย คลิกดูที่นี่.. วิธีการกำจัดสารอินทรีย์ที่เจือปนอยู่ในน้ำเสีย คลิกดูที่นี่.. การบำบัดน้ำเสียโดยทั่วไป คลิกดูที่นี่.. การบำบัดน้ำเสียของแต่ละหน่วยงาน คลิกดูที่นี่.. ระบบบำบัดน้ำเสีย / การบำบัดน้ำเสีย คลิกดูที่นี่.. บำบัดน้ำเสีย / วิธีบำบัดน้ำเสีย คลิกดูที่นี่.. บำบัดน้ำเสีย/ระบบบำบัดน้ำเสีย คลิกดูที่นี่.. การบำบัดน้ำเสีย/การดับกลิ่นด้วยจุลินทรีย์หอมคาซาม่า คลิกที่นี่.. ประโยชน์ของการใช้จุลินทรีย์หอมคาซาม่าในบ่อเกรอะบ่อส้วม คลิกที่นี่.. จุลินทรีย์ 2 in 1 (จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย & จุลินทรีย์ดับกลิ่น)คลิกดูที่นี่.. ทำไมต้องเติจุลินทรีย์ลงไปในระบบบำบัดหรือบ่อบำบัด คลิกดูที่นี่.. จุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสีย & จุลินทรีย์หอมดับกลิ่น คลิกดูที่นี่.. จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย ซื้อที่ไหน คลิกที่นี่.. วิธีดับกลิ่นส้วมเต็ม(ส้วมเหม็น) คลิกดูที่นี่... ดับกลิ่นคาวปลาในโรงงาน / ดับกลิ่นคาวเลือดปลา คลิกดูที่นี่.. เลี้ยงหมูแบบเกษตรอินทรีย์ชีวภาพ คลิกดูที่นี่.. ดับกลิ่นบ่อส้วมเหม็น( ดับกลิ่นบ่อเกรอะเหม็น ) คลิกดูที่นี่.. จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย คลิกดูที่นี่... จุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสีย คลิกดูที่นี่.... จุลินทรีย์ดับกลิ่น คลิกดูข้อมูลที่นี่... จุลินทรีย์หอมดับกลิ่น / จุลินทรีย์หอมกำจัดกลิ่น คลิกดูข้อมูลที่นี่.... จุลินทรีย์หอม คลิกดูข้อมูลที่นี่.... น้ำยาดับกลิ่น / น้ำยากำจัดกลิ่น ที่ไม่ใช่สารเคมี คลิกที่นี่.. ขายจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียที่มีกลิ่นหอม คลิกที่นี่.. การบำบัดน้ำเสียและดับกลิ่นในบ่อเกรอะ คลิกที่นี่... วิธีการลดค่า BOD,SS,TDS ในเบื้องต้นแบบง่ายๆ คลิกที่นี่.. จุลินทรีย์ดับกลิ่นและบำบัดน้ำเสียในฟาร์มเลี้ยงหมู คลิกที่นี่.. จุลินทรีย์ดับกลิ่นขยะเหม็น คลิกที่นี่.. จุลินทรีย์ที่ใช้ในการบำบัดน้ำเสีย คลิกดูที่นี่.. จำหน่ายจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย/ขายจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย คลิกที่นี่.. em บำบัดน้ำเสีย/ em หอมบำบัดน้ำเสีย คลิกที่นี่.. em ดับกลิ่น / em หอมดับกลิ่น คลิกที่นี่.. em ดับกลิ่นส้วม ดับกลิ่นบ่อส้วมเหม็น คลิกดูที่นี่.. จุลินทรีย์ดับกลิ่นส้วมดับกลิ่นบ่อส้วมเหม็น คลิกดูที่นี่.. จุลินทรีย์ดับกลิ่นห้องน้ำ คลิกดูที่นี่... วิธีดับกลิ่นห้องน้ำเหม็น/ห้องน้ำมีกลิ่นแรง คลิกที่นี่... จุลินทรีย์ดับกลิ่นบ่อเกรอะ/ดับกลิ่นห้องน้ำ/บำบัดน้ำเสีย คลิกที่นี่.. การบริหารจัดการบำบัดน้ำเสียโดยรวมของระบบบำบัด คลิกที่นี่... จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย/จุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสีย คลิกที่นี่... ปัญหาระบบบำบัดน้ำเสีย & ปัญหาการบำบัดน้ำเสีย คลิกที่นี่... ปัญหาค่ามาตรฐานน้ำทิ้งไม่ผ่านเกณฑ์มาจากสาเหตุใด ? คลิกดูที่นี่... ระบบบำบัดน้ำเสียของอาคารสำนักงานและอาคารชุดทั่วๆไป คลิกที่นี่... ค่า BOD และค่า DO มีความสำคัญอย่างไรต่อระบบบำบัดน้ำเสีย ? คลิกที่นี่... ลดค่า BOD ทำอย่างไร ? อยากรู้ คลิกดูที่นี่.... การบริหารจัดการบำบัดน้ำเสียในโรงงานอุตสาหกรรม คลิกดูที่นี่.. การบริหารจัดการบ่อบำบัดน้ำเสียและระบบบำบัดน้ำเสียของคอนโด คลิกที่นี่.. เพิ่มประสิทธิภาพบ่อบำบัดน้ำเสียและระบบบำบัดน้ำเสียทุกๆระบบ คลิกที่นี่... จุลินทรีย์หอม kasama ( จุลินทรีย์หอมคาซาม่า ) คลิกที่นี่.. จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย คืออะไร ? คลิกดูข้อมูลที่นี่.... จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียมีความสำคัญอย่างไร ? อยากรู้คลิกดูข้อมูลที่นี่...
|