จุลินทรีย์หอมคาซาม่าได้เพิ่มกลุ่มจุลินทรีย์ไนตริฟลายอิ้งลดค่า TKN แอมโมเนีย ไนเตรท ไนไตรท์ โดยเฉพาะ คำถามทำไมต้องเพิ่มหรือเติมจุลินทรีย์ลงไปในบ่อบำบัดน้ำเสียเป็นเพราะอะไร อยากรู้กดดูที่นี่...
ReadyPlanet.com
ทำไมต้องเพิ่มหรือเติมจุลินทรีย์ลงไปในบ่อบำบัดน้ำเสีย

         

ทำไมต้องเติมหรือเพิ่มจุลินทรีย์เข้าไปในระบบบำบัดน้ำเสียหรือบ่อบำบัดน้ำเสีย ? 

 ก่อนอื่นต้องทำความเข้าใจก่อนว่า ในการบำบัดน้ำเสียจากทุกๆแหล่งและทุกๆระบบ ขั้นตอนสุดท้ายของการบำบัดน้ำเสียล้วนต้องใช้จุลินทรีย์ในการบำบัดทั้งสิ้น ซึ่งเป็นกระบวนการบำบัดน้ำเสียขั้นสุดท้ายในการแปรเปลี่ยนสภาพหรือสถานะของสสารต่างๆในน้ำเสียไปเป็น น้ำ พลังงานและก๊าซคาร์บอนได้ออกไซด์ ( ตามสมการด้านล่าง ) และจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ในการบำบัดน้ำเสีย ส่วนใหญ่จะใช้จุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจน ดังนั้น จะเห็นได้ว่าระบบบำบัดน้ำเสียส่วนใหญ่ ( มากกว่า 90% ) จะเป็นระบบบำบัดน้ำเสียแบบเติมอากาศ ( AS )

 

         

กับคำถามทำไมต้องเติมจุลินทรีย์เข้าไปในระบบบำบัดหรือในบ่อบำบัด เหตุผลที่ต้องเติมจุลินทรีย์ลงไปในระบบบำบัดหรือบ่อบำบัดก็เพราะว่า ในระบบบำบัดหรือในบ่อบำบัดนั้นๆมีปริมาณจุลินทรีย์ย่อยสลายน้อย ( เมื่อเปรียบเทียบกับปริมาณของเสีย ) และจุลินทรีย์ที่ใช้เติมลงในระบบบำบัดจะต้องเป็นจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสีย( บำบัดน้ำเสีย )เท่านั้น จะใช้จุลินทรีย์กลุ่มอื่นๆที่ไม่มีคุณสมบัติในการบำบัดน้ำเสีย( ย่อยสลายของเสียต่างๆในน้ำเสีย ) ก็ไม่ได้ ซึ่งจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย( ย่อยสลายของเสีย ) ก็มีหลากหลายกลุ่มในธรรมชาติ มีทั้งชนิดที่ใช้อออกซิเจนและชนิดที่ไม่ใช้ออกซิเจน แต่จุลินทรีย์ย่อยสลายเหล่านี้จะอยู่แบบกระจัดกระจายไม่เป็นกลุ่มก้อน ดังนั้น จึงต้องมีการออกแบบระบบบำบัดและสิ่งแวดล้อมต่างๆให้เหมาะสม เพื่อให้จุลินทรีย์เหล่านี้มารวมกันเป็นกลุ่มใหญ่เพื่อนำมาใช้งานบำบัดน้ำเสีย และจุลินทรีย์ที่ใช้ในการบำบัดน้ำเสีย ส่วนใหญ่จะเป็นกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจน ซึ่งสามารถดึงมาใช้งานได้ง่าย แต่ก็มีจุดอ่อนอยู่หลายจุดด้วยกัน 

ในระบบบำบัดหรือในบ่อบำบัดมีปริมาณจุลินทรีย์น้อยดูได้จากจุดใด ? 

ความหมายของจุลินทรีย์ในระบบบำบัดมีปริมาณน้อยในที่นี้ จะหมายถึงจุลินทรีย์ที่ใช้ในการย่อยสลายของเสียในน้ำเสีย( จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย ) ซึ่งดูได้หรือเช็คได้จากค่ามาตรฐานน้ำทิ้งแต่ละค่าหรือหลายๆค่าที่ไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน( ในบ่อพักน้ำทิ้งบ่อสุดท้าย ) สามารถดูได้จากสิ่งนี้เป็นหลัก แต่ถ้าดูทางด้านกายภาพในเบื้องต้นให้สังเกตในเรื่องของสีของน้ำเสียจะมีสีดำ หรือมีกลิ่นเหม็น แสดงให้รู้ว่าระบบบำบัดมีปริมาณจุลินทรีย์ย่อยสลายน้อย ต้องรีบแก้ปัญหาก่อนที่ระบบำบัดจะวิกฤตน้ำเสียมากไปกว่านี้ 

ปริมาณจุลินทรีย์ในระบบบำบัดหรือในบ่อบำบัดมีน้อยมาจากสาเหตุใด ? 

ปัญหาปริมาณจุลินทรีย์ย่อยสลายในระบบบำบัดหรือในบ่อบำบัดมีน้อย จะส่งผลโดยตรงต่อค่าพารามิเตอร์ต่างๆ ( ค่ามาตรฐานน้ำทิ้ง ) ของเสียต่างๆในน้ำเสียก็จะถูกบำบัด( ย่อยสลาย )ได้น้อยลงตามไปด้วย ทำให้ค่ามาตรฐานน้ำทิ้งไม่ผ่านเกณฑ์กำหนด ซึ่งปัญหานี้พบเป็นประจำ ระบบบำบัดน้ำเสียหลายๆแห่ง( จำนวนมาก ) ค่ามาตรฐานน้ำทิ้งบางค่าหรือบางแห่งหลายๆค่าไม่ผ่านเกณฑ์ ซึ่งมีที่มาจากปริมาณจุลินทรีย์ย่อยสลายในระบบมีปริมาณน้อยกว่าปริมาณของเสียหรือน้ำเสียที่เกิดขึ้นจริง สาเหตุมาจากปัญหาที่เกิดขึ้นในระบบบำบัดหรือบ่อบำบัดหลายอย่างด้วยกัน ทั้งปัญหาทางเทคนิคและด้านอื่นๆ พอจะสรุปเบื้องต้นได้ดังต่อไปนี้  

1. การออกแบบระบบบำบัดไม่เหมาะสม หรือบางแห่งไม่มีระบบบำบัดเลย ระบบบำบัดน้ำเสียส่วนใหญ่จะเป็นระบบบำบัดน้ำเสียแบบเติมอากาศ ( AS : Activated  Sludge ) คือ การเติมอากาศออกซิเจนลงไปในน้ำเสีย เพื่อให้น้ำเสียนั้นๆมีค่าออกซิเจนละลายอยู่ในน้ำเสีย( >= 2 mg/l ขึ้นไป ) กลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนจะดึงออกซิเจนไปใช้ในการดำรงชีพและทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสีย จุลินทรีย์ย่อยสลายกลุ่มนี้ขาดออกซิเจนไม่ได้ ถ้าออกซิเจนในน้ำเสียมีปริมาณน้อย จุลินรีย์กลุ่มนี้ก็จะมีปริมาณน้อยตามไปด้วย ถ้าในน้ำเสียไม่มีออกซิเจนเลย จุลินทรีย์กลุ่มนี้ก็ตายยกบ่อบำบัด ดังนั้น ในระบบบำบัดหรือบ่อบำบัด ปริมาณออกซิเจนและอาหารจุลินทรีย์ต้องเพียงพอ 

2. ปัญหาทางเทคนิค ไม่มีการเติมอากาศลงไปในน้ำเสีย ไม่มีเครื่องเติมอากาศ หรือเครื่องเติมอากาศเสีย หรือเติมอากาศเล็กๆน้อยเพราะกลัวสิ้นเปลืองค่าไฟฟ้า เครื่องเติมอากาศมีกำลังแรงม้าหรือกำลังวัตต์ต่ำ เติมกาศได้ไม่ทั่วถึงทั้งบ่อบำบัด  น้ำเสียมีปริมาณออกซิเจนน้อย น้ำเสียมีมาก ซึ่งไม่สมดุลกันจึงทำให้เกิดปัญหาขึ้น ทำให้น้ำเสียในบ่อบำบัดไม่ได้รับการบำบัดอย่างทั่วถึงทั้งบ่อบำบัด 

3. น้ำเสียเกิดการล้นระบบบำบัด ( Over load ) ส่งผลให้ระบบล่มบ่อยๆ 

4. สารเคมีที่เป็นอันตรายบางชนิดหลุดเข้าไปในระบบ ส่งผลให้จุลินทรีย์ย่อยสลายมีปริมาณลดลงหรือตายยกบ่อบำบัด

จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียชนิดไม่ใช้ออกซิเจน 

จุลินทรีย์หอมคาซาม่า เป็นจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียที่มีกลิ่นหอมชนิดที่ไม่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียในน้ำเสีย(บำบัดน้ำเสีย) มีความหนาแน่นของปริมาณจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียสูง มีความแข็งแกร่ง ไม่เก่าเก็บ มีอาหารเลี้ยงเชื้ออยู่ตลอดเวลา เชื้อจุลินทรีย์มีการขายตัวอย่างต่อเนื่อง และมีอายุการใช้งานของจุลินทรีย์ไม่ต่ำกว่า 1 ปีขึ้นไป ( กรณีที่บรรจุอย่างมิดชิดอยู่ในแกลลอนที่จำหน่าย ) ใช้งานบำบัดน้ำเสีย ย่อยสลายของเสียและดับกลิ่นบำบัดกลิ่นได้ทันที ปฏิกิริยาจะเกิดขึ้นทันที ไม่ต้องไปขยายต่อให้ยุ่งยากหรือผสมน้ำให้ลำบาก เป็นจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียที่พร้อมใช้งานตลอดเวลา ไม่ต้องไปหาสิ่งใดมาเลี้ยงเชื้อให้ยุ่งยาก เพราะจุลินทรีย์หอมคาซาม่าของเรา เชื้อจะมีการขยายตัวอยู่ตลอดเวลา จะช่วยเป็นกำลังเสริมและเพิ่มประสิทธิภาพการบำบัดน้ำเสียได้อย่างต่อเนื่อง ทดแทนปริมาณจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ลดลง( กลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจน )   

  การนำจุลินทรีย์หอมคาซาม่าไปใช้ในการบำบัดน้ำเสีย 

  จุลินทรีย์หอมคาซาม่าใช้งานบำบัดน้ำเสียได้ทั้งในสภาวะที่น้ำเสียนั้นๆไม่มีออกซิเจน และน้ำเสียที่มีออกซิเจนละลายอยู่ ปฏิกิริยาการบำบัดน้ำเสีย(ย่อยสลายของเสียในน้ำเสีย) จะเกิดขึ้นตามสมการจำลองด้านล่าง

 

       

ภาพบนเป็นปฏิกิริยาการย่อยสลายของเสีย(บำบัดน้ำเสีย)ของจุลินทรีย์หอมคาซาม่า ซึ่งผลลัพธ์ที่ได้มาจะเหมือนกันกับการบำบัดน้ำเสียด้วยกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลัก ( Aerobic  Bacteria ) ซึ่งระบบบำบัดน้ำเสียส่วนใหญ่จะใช้จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย(ย่อยสลายของเสียในน้ำเสีย)ชนิดที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลัก เหตุเพราะสามารถดึงมาใช้ได้ง่ายกว่ากลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ไม่ใช้ออกซิเจน ( Anaerobic  Bacteria   ) แต่ก็มีจุดอ่อนอยู่หลายจุด ถ้าออกแบบระบบสิ่งแวดล้อมได้ไม่ดีพอ หรือกรณีเกิดวิกฤตขึ้นในระบบบำบัด กลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนจะมีปัญหา จุลินทรีย์หอมคาซาม่าจะทำงาน(ปฏิกิริยาย่อยสลาย) ได้ในทุกๆที่และทุกๆระบบบำบัด มีความทนทานและต้านทานกับสภาวะแวดล้อมที่วิกฤตได้ ซึ่งจะแตกต่างจากกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลักที่ไม่สามารถทนกับสภาวะแวดล้อมที่วิกฤตได้ นี่คือจุดเด่นๆของจุลินทรีย์หอมคาซาม่าของเราที่ไปแก้ปัญหาปิดจุดอ่อนของการบำบัดน้ำเสียและระบบบำบัดน้ำเสียที่มีปัญหาล้มเหลวบ่อยๆ 

จุลินทรีย์หอมคาซาม่าแก้ปัญหาการบำบัดน้ำเสียและระบบบำบัดน้ำเสียในจุดใด ? 

 ระบบบำบัดน้ำเสียที่มีปัญหาดังต่อไปนี้ 

- ปริมาณจุลินทรีย์ย่อยสลายของเสีย(จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย) มีปริมาณน้อย(เมื่อเปรียบเทียบกับน้ำเสียที่มีปริมาณมากกว่า) ซึ่งจะทำให้เกิดปัญหาต่างๆติดตามมา ทั้งค่ามาตรฐานน้ำทิ้งแต่ละค่าไม่ผ่านเกณฑ์กำหนด กลิ่นไม่พึงประสงค์ทั้งหลายติดตามมา สาเหตุเพราะปฏิกิริยาการย่อยสลายเกิดขึ้นน้อย อันเนื่องมาจากมีปริมาณจุลินทรีย์ย่อยสลายในระบบมีน้อย ต้องเติมหรือเพิ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายไปทดแทนเข้าไปในระบบ 

- เครื่องเติมอากาศมีปัญหา ( Aerator ) เช่น เครื่องเสียบ่อยๆ หรือ กำลังการเติมอากาศไม่เพียงพอ ( กำลังแรงม้าหรือกำลังวัตต์ต่ำเกินไป ) น้ำเสียมีปริมาณมากและบ่อบำบัดมีขนาดใหญ่ แต่ใช้เครื่องเติมอากาศกำลังแรงม้าต่ำ ซึ่งไม่สมดุลกัน จะผลิตออกซิเจนป้อนน้ำเสียและป้อนให้กับกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลักทำได้น้อยลง หรือกรณีที่การเติมออกซิเจนได้ไม่ทั่วถึงทั้งบ่อบำบัดก็มีปัญหาเช่นกัน จุดที่วางเครื่องเติมอากาศ บ่อบำบัดไม่ควรลึกเกิน 3 เมตรเป็นต้น 

- ปริมาณออกซิเจนที่ละลายอยู่ในน้ำเสียมีปริมาณน้อย ( ค่า DO ต่ำ ) โดยทั่วๆไปในน้ำเสียค่า DO ไม่ควรต่ำกว่า 2 mg/l ถ้าค่าDO ต่ำกว่านี้จะมีผลกระทบต่อกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนทันที ยิ่งค่า DO เป็น ศูนย์ กลุ่มจุลินทรีย์ย่อสลายที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลักอาจตายยกบ่อได้ตลอดเวลา การเติมอากาศจึงเป็นตัวแปรที่สำคัญต่อการดำรงชีพและการทำหน้าที่ย่อยสลายของเสียของกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจน เติมออกซิเจนได้มากเพียงพอหรือไม่ เติมได้ทั่วถึงทั้งบ่อหรือไม่ นี่คือปัญหาที่พบบ่อยๆของระบบบำบัดน้ำเสียแบบเติมอากาศ ( ระบบ AS : Activated  Sludge ) ซึ่งเป็นระบบบำบัดน้ำเสียที่นิยมมากที่สุด ( มากกว่า 90% เป็นระบบบำบัดแบบเติมอากาศ AS ) เหตุผลที่ต้องมีการเติมอากาศออกซิเจนลงในน้ำเสียก็คือ ต้องการให้น้ำเสียนั้นมีออกซิเจนเพียงพอ และให้จุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนนำไปใช้ในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียและการดำรงชีพของจุลินทรีย์เอง 

- สิ่งแวดล้อมในบ่อบำบัดมีปัญหา เช่น น้ำเสียนั้นๆมีค่า pH ต่ำมาก หรือมีค่า pH สูงมาก ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลักทันที วิกฤตเช่นนี้อาจทำให้กลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนตายยกบ่อได้ทุกเมื่อ ดังนั้น จึงต้องมีการตรวจเช็คค่า pH อยู่เป็นประจำ กรณีที่จุลินทรีย์ย่อยสลายมีปัญหาตายยกบ่อหรือมีปริมาณน้อย สามารถสังเกตทางกายภาพได้ด้วยวิธีสังเกตในเรื่องกลิ่นของน้ำเสีย ถ้ามีกลิ่นเหม็นรุนแรงขึ้นเรื่อยๆ นั่นหมายความว่า จุลินทรีย์อาจตายยกบ่อบำบัดหรือมีปริมาณน้อยมาก จึงทำให้เกิดปัญหาขึ้น ตัวแปรที่สำคัญมากที่สุดในการบำบัดน้ำเสียขั้นสุดท้ายก็คือ จุลินทรีย์ย่อยสลายของเสีย(จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย) ทุกๆระบบบำบัดจะขาดซื่งจุลินทรีย์ย่อยสลายไม่ได้โดยเด็ดขาด คุณภาพน้ำทิ้งจะผ่านหรือไม่ผ่าน คุณภาพน้ำทิ้งจะดีหรือไม่ดีอยู่ที่ตัวแปร(จุลินทรีย์ย่อยสลาย)ตัวนี้เป็นหลัก 

- สารเคมีบางชนิดอาจทำอันตรายต่อจุลินทรีย์ได้ตลอดเวลา ดังนั้น จึงไม่ควรทิ้งสารเคมีที่เป็นอันตรายต่อจุลินทรีย์ย่อยสลายลงในระบบบำบัดอย่างเด็ดขาด เพราะจุลินทรีย์เป็นสิ่งมีชีวิตขนาดเล็ก หรือในกรณีที่มีการใช้สารที่เป็นกรดอ่อนๆ หรือสารที่เป็นด่างแก่ จะส่งผลกระทบต่อระบบบำบัดน้ำเสียได้ น้ำเสียส่วนใหญ่จะมีความเป็นกรด ( จากสารอินทรีย์ ) ยกเว้นน้ำเสียจากโรงงานอุตสาหกรรมที่ผลิตสารเคมีหรือใช้สารเคมี

 

ที่กล่าวมาทั้งหมดจะเป็นปัญหาบางส่วนที่เกิดขึ้นในระบบบำบัดน้ำเสียเท่านั้น ยังมีปัญหาอีกหลายอย่างที่ไม่ได้นำมากล่าวไว้ในที่นี้ โดยเฉพาะปัญหาทางด้านเทคนิคของระบบบำบัดน้ำเสีย ซึ่งจะส่งผลต่อประสิทธิภาพของการบำบัดน้ำเสียและประสิทธิภาพของระบบบำบัดน้ำเสียโดยตรง  ระบบบำบัดน้ำเสียใดมีประสิทธิภาพดีหรือมีประสิทธิภาพด้อยในการบำบัดน้ำเสีย สามารถดูผลลัพธ์ได้จากค่ามาตรฐานน้ำทิ้งผ่านเกณฑ์ทุกๆค่าหรือไม่ นี้คือตัวตัดสินของการบำบัดน้ำเสีย ( ค่ามาตรฐานน้ำทิ้ง )  

     จุลินทรีย์หอมคาซาม่าจะมาแก้ปัญหาปิดจุดอ่อนที่กล่าวมาเหล่านี้ ซึ่งจะช่วยทั้งการเพิ่มประสิทธิภาพการบำบัดน้ำเสียและระบบบำบัดน้ำเสียให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น และยังช่วยเสริมจุดอ่อนของการบำบัดน้ำเสียและระบบบำบัดน้ำเสียที่มีปัญหาตามที่กล่าวมาข้างบน กลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลักสามารถดึงมาใช้งานบำบัดน้ำเสียได้ง่ายก็จริง แต่ควบคุมได้ค่อนข้างยาก ต้องมีปัจจัยหลายๆอย่างประกอบและเกื้อหนุนเพื่อรักษาจุลินทรีย์กลุ่มนี้ให้มีมากพอและอยู่ในระบบบำบัดตามที่ต้องการ แต่จุลินทรีย์หอมคาซาม่าไม่มีความยุ่งยาก ไม่ต้องควบคุมใดๆ สามารถเติมมากหรือน้อยได้ตามความเหมาะสมและความต้องการของผู้ใช้ 

เราคือผู้ผลิตและจำหน่ายจุลินทรีย์หอมคาซาม่า จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย จุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสีย จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียที่มีกลิ่นหอมเจ้าแรกของประเทศไทย โปรดระวังของปลอมที่ลอกเลียนแบบของเรา  

จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย ราคา  

ราคาจำหน่าย แกลลอนละ 1,200  บาท   

ขนาดบรรจุ แกลลอน  20  ลิตร ( บรรจุจริง  21.50 ลิตร )  

จัดส่งฟรีทั่วประเทศ ถึงผู้รับภายใน 2-3 วันทำการขนส่ง( ด่วนพิเศษ) 



         

ดูแต่ละหัวข้อ กรุณาคลิกที่ลิ้งค์ด้านล่างนี้

 

การบำบัดน้ำเสีย/ระบบบำบัดน้ำเสียของคอนโดมิเนียม กดดูที่นี่..

วิธีดับกลิ่นน้ำเน่าเหม็นและน้ำเน่าเสีย คลิกดูที่นี่...  

ดับกลิ่นห้องน้ำส่งกลิ่นเหม็น คลิกดูที่นี่...

ส้วมเหม็นทำอย่างไร? แก้ไขอย่างไร ? คลิกดูที่นี่..

ดับกลิ่นบ่อส้วมเหม็น บ่อส้วมมีกลิ่น คลิกดูที่นี่...

ชักโครกส่งกลิ่นเหม็น ท่อน้ำทิ้งมีกลิ่นเหม็น บ่อเกรอะส่งกลิ่นเหม็น คลิกที่นี่..

ดับกลิ่นส้วมเหม็น/ดับกลิ่นห้องน้ำเหม็น/ดับกลิ่นบ่อส้วมเหม็น คลิกที่นี่..

ดับกลิ่นสุนัขและสัตว์เลี้ยงทุกๆชนิด คลิกดูที่นี่..
 ปัญหาบ่อเติมอากาศส่งกลิ่นเหม็นเกิดจากสาเหตุใด ? คลิกดูที่นี่..
จุลินทรีย์ดับกลิ่นรถขยะ / ดับกลิ่นรถขนขยะเหม็น คลิกดูที่นี่.. 
บำบัดน้ำเสียและการบำบัดกลิ่นในโรงงานไอศครีมทุกๆแห่ง คลิกที่นี่... 

 การแก้ปัญหาน้ำเสียและกลิ่นในโรงงานขนมจีนทุกๆแห่ง คลิกดูที่นี่..

การดูแลและบำรุงรักษา/การบริหารจัดการระบบบำบัดน้ำเสีย คลิกดูที่นี่.. 

 วิธีลดค่า BOD , SS , TDS ในโรงงานปลากระป๋อง คลิกดูที่นี่..
จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย/จุลินทรีย์ที่ใช้ในการบำบัดน้ำเสีย คลิกที่นี่...

ดับกลิ่นและบำบัดน้ำเสียในล้งปลาทุกๆแห่ง คลิกดูที่นี่.. 
จุลินทรีย์ดับกลิ่นและบำบัดน้ำเสียในโรงงานผลิตขนม คลิกที่นี่.. 
จุลินทรีย์หอมดับกลิ่นและบำบัดน้ำเสียในฟาร์มเลี้ยงหมู คลิกที่นี่..
ดับกลิ่นและบำบัดน้ำเสียในล้งปลา/โรงงานทำปลา คลิกดูที่นี่..
การกำจัดไขมันและน้ำมันแบบง่ายๆ( FOG ) คลิกดูที่นี่.. 

การบำบัดน้ำเสียของคอนโดมิเนียม คลิกดูที่นี่.. 

จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียทำงานย่อยสลายของเสียอย่างไร คลิกดูที่นี่.. 

สัญญาณจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียในบ่อบำบัดมีปริมาณน้อย คลิกดูที่นี่.. 

วิธีการกำจัดสารอินทรีย์ที่เจือปนอยู่ในน้ำเสีย คลิกดูที่นี่.. 

การบำบัดน้ำเสียโดยทั่วไป คลิกดูที่นี่.. 

การบำบัดน้ำเสียของแต่ละหน่วยงาน คลิกดูที่นี่.. 

ระบบบำบัดน้ำเสีย / การบำบัดน้ำเสีย คลิกดูที่นี่.. 

บำบัดน้ำเสีย / วิธีบำบัดน้ำเสีย คลิกดูที่นี่..

บำบัดน้ำเสีย/ระบบบำบัดน้ำเสีย คลิกดูที่นี่..

การบำบัดน้ำเสีย/การดับกลิ่นด้วยจุลินทรีย์หอมคาซาม่า  คลิกที่นี่.. 

ประโยชน์ของการใช้จุลินทรีย์หอมคาซาม่าในบ่อเกรอะบ่อส้วม  คลิกที่นี่.. 

จุลินทรีย์ 2 in 1 (จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย & จุลินทรีย์ดับกลิ่น)คลิกดูที่นี่..  

ทำไมต้องเติจุลินทรีย์ลงไปในระบบบำบัดหรือบ่อบำบัด คลิกดูที่นี่.. 

จุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสีย & จุลินทรีย์หอมดับกลิ่น คลิกดูที่นี่..

จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย ซื้อที่ไหน  คลิกที่นี่.. 

วิธีดับกลิ่นส้วมเต็ม(ส้วมเหม็น) คลิกดูที่นี่...

ดับกลิ่นคาวปลาในโรงงาน / ดับกลิ่นคาวเลือดปลา คลิกดูที่นี่..

เลี้ยงหมูแบบเกษตรอินทรีย์ชีวภาพ  คลิกดูที่นี่..

 ดับกลิ่นบ่อส้วมเหม็น( ดับกลิ่นบ่อเกรอะเหม็น ) คลิกดูที่นี่.. 

จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย  คลิกดูที่นี่...

จุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสีย คลิกดูที่นี่....       

 จุลินทรีย์ดับกลิ่น  คลิกดูข้อมูลที่นี่... 

จุลินทรีย์หอมดับกลิ่น / จุลินทรีย์หอมกำจัดกลิ่น คลิกดูข้อมูลที่นี่.... 

จุลินทรีย์หอม  คลิกดูข้อมูลที่นี่.... 

น้ำยาดับกลิ่น / น้ำยากำจัดกลิ่น ที่ไม่ใช่สารเคมี คลิกที่นี่.. 

ขายจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียที่มีกลิ่นหอม  คลิกที่นี่.. 

การบำบัดน้ำเสียและดับกลิ่นในบ่อเกรอะ  คลิกที่นี่...

วิธีการลดค่า BOD,SS,TDS ในเบื้องต้นแบบง่ายๆ คลิกที่นี่..

จุลินทรีย์ดับกลิ่นและบำบัดน้ำเสียในฟาร์มเลี้ยงหมู คลิกที่นี่..

จุลินทรีย์ดับกลิ่นขยะเหม็น  คลิกที่นี่..

จุลินทรีย์ที่ใช้ในการบำบัดน้ำเสีย คลิกดูที่นี่..

จำหน่ายจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย/ขายจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย  คลิกที่นี่.. 

em บำบัดน้ำเสีย/  em หอมบำบัดน้ำเสีย คลิกที่นี่..  

em ดับกลิ่น / em หอมดับกลิ่น คลิกที่นี่.. 

em ดับกลิ่นส้วม ดับกลิ่นบ่อส้วมเหม็น คลิกดูที่นี่..  

จุลินทรีย์ดับกลิ่นส้วมดับกลิ่นบ่อส้วมเหม็น  คลิกดูที่นี่.. 

จุลินทรีย์ดับกลิ่นห้องน้ำ คลิกดูที่นี่...  

วิธีดับกลิ่นห้องน้ำเหม็น/ห้องน้ำมีกลิ่นแรง คลิกที่นี่...

วิธีดับกลิ่นบ่อเกรอะเหม็นบ่อส้วมเหม็น  คลิกดูที่นี่..

จุลินทรีย์ดับกลิ่นบ่อเกรอะ/ดับกลิ่นห้องน้ำ/บำบัดน้ำเสีย คลิกที่นี่.. 

การบริหารจัดการบำบัดน้ำเสียโดยรวมของระบบบำบัด คลิกที่นี่...  

จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย/จุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสีย  คลิกที่นี่...

ปัญหาระบบบำบัดน้ำเสีย & ปัญหาการบำบัดน้ำเสีย  คลิกที่นี่...  

ปัญหาค่ามาตรฐานน้ำทิ้งไม่ผ่านเกณฑ์มาจากสาเหตุใด ? คลิกดูที่นี่...

ระบบบำบัดน้ำเสียของอาคารสำนักงานและอาคารชุดทั่วๆไป คลิกที่นี่...

ค่า BOD และค่า DO มีความสำคัญอย่างไรต่อระบบบำบัดน้ำเสีย ? คลิกที่นี่...

ลดค่า  BOD  ทำอย่างไร ?  อยากรู้ คลิกดูที่นี่.... 

 การบริหารจัดการบำบัดน้ำเสียในโรงงานอุตสาหกรรม คลิกดูที่นี่.. 

การบริหารจัดการบ่อบำบัดน้ำเสียและระบบบำบัดน้ำเสียของคอนโด คลิกที่นี่..

เพิ่มประสิทธิภาพบ่อบำบัดน้ำเสียและระบบบำบัดน้ำเสียทุกๆระบบ  คลิกที่นี่...   

จุลินทรีย์หอม kasama ( จุลินทรีย์หอมคาซาม่า ) คลิกที่นี่..

จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย คืออะไร ? คลิกดูข้อมูลที่นี่.... 

จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียมีความสำคัญอย่างไร ? อยากรู้คลิกดูข้อมูลที่นี่...