จุลินทรีย์หอมคาซาม่าได้เพิ่มกลุ่มจุลินทรีย์ไนตริฟลายอิ้งลดค่า TKN แอมโมเนีย ไนเตรท ไนไตรท์ โดยเฉพาะ สัญญาณจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียในบ่อบำบัดและในระบบบำบัดน้ำเสียมีปริมาณน้อย ซึ่งส่งผลต่อประสิทธิภาพของการบำบัดน้ำเสียโดยตรง
ReadyPlanet.com
สัญญาณจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียในบ่อบำบัดมีปริมาณน้อย

      

การบำบัดน้ำเสียด้วยจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย( จุลินทรีย์ย่อยสลายของเสียต่างๆในน้ำเสีย )เป็นกระบวนการบำบัดน้ำเสียที่ดีที่สุดของการบำบัดน้ำเสียทุกๆวิธี และเป็นกระบวนการแปรสภาพและสถานะของสสารทุกๆชนิด( สารอินทรีย์และสารอนินทรีย์ )บนโลกใบนี้ให้กลายไปเป็น น้ำ พลังงาน และก๊าซ ในที่สุดของกระบวนการปฏิกิริยาการย่อยสลาย กระบวนการย่อยสลายของเสียต่างๆของจุลินทรีย์เกิดขึ้นตลอดเวลาในธรรมชาติ และน้ำเสียก็ถูกบำบัดด้วยจุลินทรีย์ที่มีอยู่ในธรรมชาติเช่นกัน แต่ปัญหาก็คือ น้ำเสียและของเสียต่างๆที่เจือปนและปนเปื้อนอยู่ในน้ำเสียมีมากขึ้นเรื่อยๆ ตามกิจกรรมของมนุษย์ที่มีมากขึ้นตลอดเวลา ซึ่งไม่ใช้น้ำเสียที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ แต่ในขณะที่จุลินทรีย์ย่อยสลายของเสียในธรรมชาติมีปริมาณน้อย และอยู่กันแบบกระจัดกระจายทั่วๆไปตามดิน น้ำ และอากาศ การย่อยสลายของเสีย( บำบัดน้ำเสีย )จึงเกิดขึ้นน้อยไม่สมดุลกันกับของเสียและน้ำเสียที่เกิดขึ้นจริงในแต่ละแห่ง ในการดึงจุลินทรีย์ย่อยสลายของเสียจากธรรมชาติมาใช้งานนั้น ต้องออกแบบระบบบำบัดและสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสมกับการดำรงชีพ การเจริญเติบโตขยายเซลล์

    ในการบำบัดน้ำเสีย( การกำจัดหรือแยกสารอินทรีย์และสารอนินทรีย์ออกจากน้ำเสีย )แปรสภาพของสสารต่างๆที่เจือปนและปนเปื้อนอยู่ในน้ำเสียนั้นๆ ขั้นตอนสุดท้ายของการบำบัดต้องอาศัยจุลินทรีย์ย่อยสลายเท่านั้น เพื่อแปรสภาพของสสารต่างๆ( สารอินทรีย์และสารอนินทรีย์ )ที่เจือปนอยู่ในน้ำเสียให้สลายและกลายสภาพไปเป็น น้ำ พลังงาน และก๊าซ ตามสมการจำลองด้านล่าง

     

สัญญาณของจุลินทรีย์ย่อยสลายของเสียในระบบบำบัดน้ำเสียมีปริมาณน้อย

การบำบัดน้ำเสียแทบจะทุกๆระบบบำบัดน้ำเสีย ต้องใช้จุลินทรีย์ย่อยสลายของเสีย( จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย )ในขั้นตอนสุดท้ายของการบำบัดเพื่อแปรสถานะของสสารต่างๆที่เจือปนและปนเปื้อนอยู่ในน้ำเสียนั้นๆ การที่ปริมาณจุลินทรีย์ย่อยสลายของเสียต่างๆในน้ำเสียมีปริมาณน้อย ย่อมส่งผลกระทบต่อการบำบัดน้ำเสียและระบบบำบัดน้ำเสียอย่างแน่นอน ซึ่งในปัจจุบันยังไม่มีสิ่งใดมาทดแทนหรือทำหน้าที่แทนจุลินทรีย์ย่อยสลายได้ สัญญาณที่บ่งบอกให้เรารู้ว่าจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย( จุลินทรีย์ย่อยสลายของเสียต่างๆในน้ำเสีย )ในระบบบำบัดหรือในบ่อบำบัดมีปริมาณน้อยลง ดูผลและสังเกตุได้จากสิ่งต่อไปนี้ .-

1. ปัจจัยทางกายภาพ เช่น กลิ่นของน้ำเสีย และสีของน้ำเสีย ซึ่งสามารถมองเห็นสีของน้ำเสียและรับรู้กลิ่นทางจมูกได้ ถ้าน้ำเสียเริ่มมีกลิ่นเหม็น สีของน้ำเสียเริ่มเปลี่ยนเป็นสีดำ แสดงให้รู้ว่าระบบบำบัดเริ่มมีปัญหาแล้ว ต้องรีบแก้ไขทันที ถ้าปริมาณจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียสมดุลหรือมากกว่าปริมาณน้ำเสียจะไม่เกิดปัญหาในเรื่องของกลิ่นเน่าเหม็นของน้ำเสีย กลิ่นเหม็นของน้ำเสียทำให้รู้ว่าปริมาณจุลินทรีย์ย่อยสลายของเสียในระบบบำบัดหรือในบ่อบำบัดมีปัญหา( น้อยลงหรือตายยกบ่อบำบัด )

2. ดูจากรายงานผลการวิเคราะห์คุุณภาพน้ำทิ้งในบ่อสุดท้าย  ถ้าค่ามาตรฐานน้ำทิ้งบางค่าหรือหลายๆค่าไม่ผ่านเกณฑ์กำหนด แสดงให้รู้ว่า ระบบำบัดเริ่มมีปัญหาแล้ว ปริมาณจุลินทรีย์ย่อยสลายของเสียมีปัญหา( ลดลง ) ต้องรีบแก้ไขทันที ค่า BOD , SS , FOG สูง แสดงให้รู้ว่าในน้ำเสียมีปริมาณสารอินทรีย์ที่ยังไม่ถูกบำบัด( ย่อยสลาย )ในปริมาณมาก และมีปัจจัยบางตัวที่น่านำมาใช้เช็คค่าปริมาณจุลินทรีย์ย่อยสลายในระบบ เช่น ค่า DO ( ปริมาณออกซิเจนที่ละลายอยู่ในน้ำเสีย ) และค่า pH  สำหรับค่า DO ที่เหมาะสมกับการเจริญเติบโตขยายตัวของจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนต้องมีค่ามากกว่าหรือเท่ากับ  2 mg/l ความหมายคือ ในน้ำเสียนั้นๆต้องมีค่าออกซิเจนละลายอยู่ไม่น้อยกว่า 2 มิลลิกรัมต่อน้ำเสีย 1 ลิตร ถ้าค่า DO ต่ำกว่า 2 mg/l จะส่งผลต่อการเจริญเติบโตและการขยายเซลล์ของกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนทันที ถ้าค่า DO = 0  จุลินทรีย์ย่อยสลายกลุ่มที่ใช้ออกซิเจนก็จะตายยกบ่อบำบัด เพราะในน้ำเสียไม่มีออกซิเจน จะทำให้เกิดการเน่าเหม็นของน้ำเสียรุนแรงขึ้น และอีกค่า pH ก็มีความสำคัญต่อการเจริญเติบโตการขยายเซล์ของกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจน จุลินทรีย์กลุ่มนี้จะเจริญเติบโตได้ดีที่ค่า pH ของน้ำเสียอยู่ระหว่าง 5 - 9 เหมาะสมมากที่สุดคือ pH Balance ( pH=7 ) ถ้าค่า pH ต่ำมากๆ( น้ำเสียเป็นกรด )หรือสูงมากๆ( เป็นด่างแก่ )ปริมาณจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนจะลดลงและตายยกบ่อบำบัดในที่สุด ดังนั้น จึงควรตรวจสอบเช็คค่า DO และค่า pH ของน้ำเสียอยู่เป็นประจำในบ่อเติมอากาศ เพื่อจะได้รู้ถึงสุขภาพของระบบบำบัดน้ำเสียว่ายังมีประสิทธิภาพการบำบัดได้ดีอยู่หรือไม่ 

3. เครื่องเติมอากาศเสีย การเติมอากาศทำได้ไม่ทั่วถึงทั้งบ่อบำบัด จะมีผลให้ออกซิเจนที่ละลายอยู่ในน้ำเสียนั้นๆมีปริมาณน้อย จึงส่งผลให้มีปริมาณจุลินทรีย์ย่อยสลายกลุ่มที่ใช้ออกซิเจนมีน้อยตามไปด้วย ระบบบำบัดน้ำเสียส่วนใหญ่( มากกว่า 90% )นิยมใช้งานกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายชนิดที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลัก ดังนั้น ออกซิเจนในน้ำเสียจึงมีความสำคัญมากพอๆกับอาหารของจุลินทรีย์นั่นเอง การบำบัดน้ำเสีย( ย่อยสลายของเสียต่างๆในน้ำเสีย )ปฏิกิริยาการย่อยสลายจะเกิดขึ้นมากที่สุดที่บ่อเติมอากาศ( บ่อปฏิกิริยา )ในบ่อเติมอากาศนี้จะมีกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายชนิดที่ใช้ออกซิเจนมากที่สุด( มากกว่าทุกๆบ่อบำบัด ) จึงเกิดการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียได้มากที่สุดในจุดนี้ ปัจจัยในเรื่องออกซิเจนจึงมีความสำคัญมากในจุดนี้ ออกซิเจนในน้ำเสียเพียงพอหรือไม่? ออกซิเจนกระจายได้ทั่วถึงทั้งบ่อบำบัดหรือไม่ ? ถ้าปริมาณออกซิเจนในน้ำเสียต่ำ( ค่า DO ต่ำ ) แน่นอนว่า ปริมาณจุลินทรีย์ย่อยสลายกลุ่มที่ใช้ออกซิเจนย่อมลดลงหรือมีปริมาณน้อยลงอย่างแน่นอน

  ในการบำบัดน้ำเสียและระบบบำบัดน้ำเสียโดยทั่วๆไปจะใช้จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย 2 กลุ่มด้วยกันคือ กลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายชนิดที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลัก( นิยมมากที่สุด )และกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายชนิดที่ไม่ใช้ออกซิเจน ซึ่งจุลินทรีย์ย่อยสลายทั้งสองกลุ่มนี้มีอยู่ตามธรรมชาติดิน น้ำ และอากาศ แต่มีปริมาณน้อยอาศัยอยู่แบบกระจัดกระจาย การเพิ่มปริมาณจุลินทรีย์ย่อยสลายในระบบบำบัดหรือในบ่อบำบัด ส่วนใหญ่จะเน้นไปที่กลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจน เพราะสามารถดึงจากธรรมชาติมาใช้งานได้ง่ายกว่ากลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายชนิดที่ไม่ใช้ออกซิเจน แต่ก็มีจุดอ่อนในส่วนที่ต้องออกแบบระบบและสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสมต่อการดำรงชีพและการเจริญเติบโต ขาดอาหารและออกซิเจนไม่ได้ ขาดอย่างใดอย่างหนึ่งหรือทั้งสองอย่างตายยกบ่อบำบัดทันที สภาวะแวดล้อมน้ำเสียวิกฤตก็มีปัญหา( ค่า DO ต่ำ , ค่า pH สูงหรือต่ำมากๆ )ซึ่งเป็นจุดอ่อนหรือจุดด้อยของจุลินทรีย์ย่อยสลายกลุ่มที่ใช้ออกซิเจน ปัญหาระบบบำบัดล่มหรือระบบบำบัดน้ำเสียล้มเหลวก็มาจากจุดนี้ส่วนหนึ่ง

   จุลินทรีย์หอมคาซาม่า เป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียต่างๆในน้ำเสีย( จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย )ชนิดที่ไม่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสีย สามารถนำไปทดแทนและแก้ไขปัญหาปริมาณจุลินทรีย์ย่อยสลายในระบบบำบัดหรือในบ่อบำบัดมีปริมาณน้อยได้ทันที เป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์จากธรรมชาตินำมารวมสังเคราะห์ไว้ในที่เดียวกัน มีความต้านทานต่อสภาพแวดล้อมน้ำเสียที่วิกฤตได้ดี ทำงานย่อยสลายได้ทั้งในสภาวะที่น้ำเสียมีออกซิเจนและในสภาวะที่น้ำเสียไม่มีออกซิเจนเลย เพราะเป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่ไม่ใช้ออกซิเจน ดังนั้น ถึงแม้ในน้ำเสียไม่มีออกซิเจนเลย( ค่า DO=0 )ก็ไม่มีผลกระทบใดๆต่อการทำปฏิกิริยาย่อยสลายและการดำรงชีพ ทำงานย่อยสลายได้ตามปกติ ซึ่งจะแตกต่างจากกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจน แต่ผลลัพธ์ของปฏิกิริยาการย่อยสลายของเสีย( ปฏิกิริยาการบำบัดน้ำเสีย )จะได้ผลลัพธ์เหมือนกันตามสมการจำลองด้านล่าง ซึ่งเป็นจุดเด่นๆของจุลินทรีย์หอมคาซาม่า

     

ผู้ผลิตและจำหน่ายจุลินทรีย์หอมคาซาม่า จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย และ จุลินทรีย์ดับกลิ่น( บำบัดกลิ่น )ชนิดที่ไม่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยา เป็นจุลินทรีย์ที่มีกลิ่นหอม ใช้บำบัดน้ำเสียได้ทุกๆระบบบำบัด ได้ประโยชน์ทั้งการบำบัดน้ำเสียและการบำบัดกลิ่น( ดับกลิ่น )ในบ่อบำบัดน้ำเสียในเวลาเดียวกันทันที กลิ่นหอมทันทีที่ใช้งาน ช่วยเพิ่มและเสริมประสิทธิภาพการบำบัดน้ำเสียและระบบบำบัดน้ำเสียให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เป็นจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์จากธรรมชาติที่นำมาสังเคราะห์ขึ้นใช้ในงานบำบัดน้ำเสียทั่วๆไปและการบำบัดกลิ่นดับกลิ่นทุกๆชนิดที่เกิดจากสารอินทรีย์

จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย ราคา

จุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสีย ราคา

ราคาจำหน่าย แกลลอนละ  1,200  บาท

ขนาดบรรจุ แกลลอน  20  ลิตร ( บรรจุจริง  21.50 ลิตร )

จัดส่งฟรีทั่วประเทศ ถึงผู้รับภายใน 2-4 วันทำการขนส่ง ( ขึ้นอยู่กับระยะทางใกล้-ไกล )



         

ดูแต่ละหัวข้อ กรุณาคลิกที่ลิ้งค์ด้านล่างนี้

 

การบำบัดน้ำเสีย/ระบบบำบัดน้ำเสียของคอนโดมิเนียม กดดูที่นี่..

วิธีดับกลิ่นน้ำเน่าเหม็นและน้ำเน่าเสีย คลิกดูที่นี่...  

ดับกลิ่นห้องน้ำส่งกลิ่นเหม็น คลิกดูที่นี่...

ส้วมเหม็นทำอย่างไร? แก้ไขอย่างไร ? คลิกดูที่นี่..

ดับกลิ่นบ่อส้วมเหม็น บ่อส้วมมีกลิ่น คลิกดูที่นี่...

ชักโครกส่งกลิ่นเหม็น ท่อน้ำทิ้งมีกลิ่นเหม็น บ่อเกรอะส่งกลิ่นเหม็น คลิกที่นี่..

ดับกลิ่นส้วมเหม็น/ดับกลิ่นห้องน้ำเหม็น/ดับกลิ่นบ่อส้วมเหม็น คลิกที่นี่..

ดับกลิ่นสุนัขและสัตว์เลี้ยงทุกๆชนิด คลิกดูที่นี่..
 ปัญหาบ่อเติมอากาศส่งกลิ่นเหม็นเกิดจากสาเหตุใด ? คลิกดูที่นี่..
จุลินทรีย์ดับกลิ่นรถขยะ / ดับกลิ่นรถขนขยะเหม็น คลิกดูที่นี่.. 
บำบัดน้ำเสียและการบำบัดกลิ่นในโรงงานไอศครีมทุกๆแห่ง คลิกที่นี่... 

 การแก้ปัญหาน้ำเสียและกลิ่นในโรงงานขนมจีนทุกๆแห่ง คลิกดูที่นี่..

การดูแลและบำรุงรักษา/การบริหารจัดการระบบบำบัดน้ำเสีย คลิกดูที่นี่.. 

 วิธีลดค่า BOD , SS , TDS ในโรงงานปลากระป๋อง คลิกดูที่นี่..
จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย/จุลินทรีย์ที่ใช้ในการบำบัดน้ำเสีย คลิกที่นี่...

ดับกลิ่นและบำบัดน้ำเสียในล้งปลาทุกๆแห่ง คลิกดูที่นี่.. 
จุลินทรีย์ดับกลิ่นและบำบัดน้ำเสียในโรงงานผลิตขนม คลิกที่นี่.. 
จุลินทรีย์หอมดับกลิ่นและบำบัดน้ำเสียในฟาร์มเลี้ยงหมู คลิกที่นี่..
ดับกลิ่นและบำบัดน้ำเสียในล้งปลา/โรงงานทำปลา คลิกดูที่นี่..
การกำจัดไขมันและน้ำมันแบบง่ายๆ( FOG ) คลิกดูที่นี่.. 

การบำบัดน้ำเสียของคอนโดมิเนียม คลิกดูที่นี่.. 

จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียทำงานย่อยสลายของเสียอย่างไร คลิกดูที่นี่.. 

สัญญาณจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียในบ่อบำบัดมีปริมาณน้อย คลิกดูที่นี่.. 

วิธีการกำจัดสารอินทรีย์ที่เจือปนอยู่ในน้ำเสีย คลิกดูที่นี่.. 

การบำบัดน้ำเสียโดยทั่วไป คลิกดูที่นี่.. 

การบำบัดน้ำเสียของแต่ละหน่วยงาน คลิกดูที่นี่.. 

ระบบบำบัดน้ำเสีย / การบำบัดน้ำเสีย คลิกดูที่นี่.. 

บำบัดน้ำเสีย / วิธีบำบัดน้ำเสีย คลิกดูที่นี่..

บำบัดน้ำเสีย/ระบบบำบัดน้ำเสีย คลิกดูที่นี่..

การบำบัดน้ำเสีย/การดับกลิ่นด้วยจุลินทรีย์หอมคาซาม่า  คลิกที่นี่.. 

ประโยชน์ของการใช้จุลินทรีย์หอมคาซาม่าในบ่อเกรอะบ่อส้วม  คลิกที่นี่.. 

จุลินทรีย์ 2 in 1 (จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย & จุลินทรีย์ดับกลิ่น)คลิกดูที่นี่..  

ทำไมต้องเติจุลินทรีย์ลงไปในระบบบำบัดหรือบ่อบำบัด คลิกดูที่นี่.. 

จุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสีย & จุลินทรีย์หอมดับกลิ่น คลิกดูที่นี่..

จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย ซื้อที่ไหน  คลิกที่นี่.. 

วิธีดับกลิ่นส้วมเต็ม(ส้วมเหม็น) คลิกดูที่นี่...

ดับกลิ่นคาวปลาในโรงงาน / ดับกลิ่นคาวเลือดปลา คลิกดูที่นี่..

เลี้ยงหมูแบบเกษตรอินทรีย์ชีวภาพ  คลิกดูที่นี่..

 ดับกลิ่นบ่อส้วมเหม็น( ดับกลิ่นบ่อเกรอะเหม็น ) คลิกดูที่นี่.. 

จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย  คลิกดูที่นี่...

จุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสีย คลิกดูที่นี่....       

 จุลินทรีย์ดับกลิ่น  คลิกดูข้อมูลที่นี่... 

จุลินทรีย์หอมดับกลิ่น / จุลินทรีย์หอมกำจัดกลิ่น คลิกดูข้อมูลที่นี่.... 

จุลินทรีย์หอม  คลิกดูข้อมูลที่นี่.... 

น้ำยาดับกลิ่น / น้ำยากำจัดกลิ่น ที่ไม่ใช่สารเคมี คลิกที่นี่.. 

ขายจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียที่มีกลิ่นหอม  คลิกที่นี่.. 

การบำบัดน้ำเสียและดับกลิ่นในบ่อเกรอะ  คลิกที่นี่...

วิธีการลดค่า BOD,SS,TDS ในเบื้องต้นแบบง่ายๆ คลิกที่นี่..

จุลินทรีย์ดับกลิ่นและบำบัดน้ำเสียในฟาร์มเลี้ยงหมู คลิกที่นี่..

จุลินทรีย์ดับกลิ่นขยะเหม็น  คลิกที่นี่..

จุลินทรีย์ที่ใช้ในการบำบัดน้ำเสีย คลิกดูที่นี่..

จำหน่ายจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย/ขายจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย  คลิกที่นี่.. 

em บำบัดน้ำเสีย/  em หอมบำบัดน้ำเสีย คลิกที่นี่..  

em ดับกลิ่น / em หอมดับกลิ่น คลิกที่นี่.. 

em ดับกลิ่นส้วม ดับกลิ่นบ่อส้วมเหม็น คลิกดูที่นี่..  

จุลินทรีย์ดับกลิ่นส้วมดับกลิ่นบ่อส้วมเหม็น  คลิกดูที่นี่.. 

จุลินทรีย์ดับกลิ่นห้องน้ำ คลิกดูที่นี่...  

วิธีดับกลิ่นห้องน้ำเหม็น/ห้องน้ำมีกลิ่นแรง คลิกที่นี่...

วิธีดับกลิ่นบ่อเกรอะเหม็นบ่อส้วมเหม็น  คลิกดูที่นี่..

จุลินทรีย์ดับกลิ่นบ่อเกรอะ/ดับกลิ่นห้องน้ำ/บำบัดน้ำเสีย คลิกที่นี่.. 

การบริหารจัดการบำบัดน้ำเสียโดยรวมของระบบบำบัด คลิกที่นี่...  

จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย/จุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสีย  คลิกที่นี่...

ปัญหาระบบบำบัดน้ำเสีย & ปัญหาการบำบัดน้ำเสีย  คลิกที่นี่...  

ปัญหาค่ามาตรฐานน้ำทิ้งไม่ผ่านเกณฑ์มาจากสาเหตุใด ? คลิกดูที่นี่...

ระบบบำบัดน้ำเสียของอาคารสำนักงานและอาคารชุดทั่วๆไป คลิกที่นี่...

ค่า BOD และค่า DO มีความสำคัญอย่างไรต่อระบบบำบัดน้ำเสีย ? คลิกที่นี่...

ลดค่า  BOD  ทำอย่างไร ?  อยากรู้ คลิกดูที่นี่.... 

 การบริหารจัดการบำบัดน้ำเสียในโรงงานอุตสาหกรรม คลิกดูที่นี่.. 

การบริหารจัดการบ่อบำบัดน้ำเสียและระบบบำบัดน้ำเสียของคอนโด คลิกที่นี่..

เพิ่มประสิทธิภาพบ่อบำบัดน้ำเสียและระบบบำบัดน้ำเสียทุกๆระบบ  คลิกที่นี่...   

จุลินทรีย์หอม kasama ( จุลินทรีย์หอมคาซาม่า ) คลิกที่นี่..

จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย คืออะไร ? คลิกดูข้อมูลที่นี่.... 

จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียมีความสำคัญอย่างไร ? อยากรู้คลิกดูข้อมูลที่นี่...