จุลินทรีย์หอมคาซาม่าได้เพิ่มกลุ่มจุลินทรีย์ไนตริฟลายอิ้งลดค่า TKN แอมโมเนีย ไนเตรท ไนไตรท์ โดยเฉพาะ จำหน่ายจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย/จุลินทรีย์ที่ใช้ในการบำบัดน้ำเสีย จุลินทรีย์หอมคาซาม่า เป็นจุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสีย ใช้บำบัดน้ำเสียได้ทุกๆระบบบำบัด กลิ่นหอมทันทีที่ใช้งาน
ReadyPlanet.com
จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย/จุลินทรีย์ที่ใช้ในการบำบัดน้ำเสีย

ขอบคุณทุกๆท่านที่กด แชร์ ( Share )ให้กับจุลินทรีย์หอมคาซาม่า  

    

จุลินทรีย์หอมคาซาม่า : จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย / จุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสีย ใช้บำบัดน้ำเสียทุกๆระบบบำบัด ช่วยเพิ่มและเสริมประสิทธิภาพการบำบัดน้ำเสียและระบบบำบัดน้ำเสียให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะระบบบำบัดน้ำเสียที่มีปัญหาบ่อยๆ ออกซิเจนในระบบมีน้อย ค่ามาตรฐานน้ำทิ้งไม่ผ่านบ่อยๆ ฯลฯ

จุลินทรีย์ คืออะไร?

จุลินทรีย์ (  Bacteria หรือ Microorganism ) คือ สิ่งมีชีวิตขนาดเล็ก เป็นสัตว์เซลล์เดียว( ไม่ใช่สารเคมี ) มีทั้งชนิดที่ใช้ออกซิเจนและชนิดที่ไม่ใช้ออกซิเจนในการเจริญเติบโตและการดำรงชีพ การแบ่งเซลล์ มีอยู่ทั่วๆไปในธรรมชาติดิน น้ำ และอากาศ แทบทุกอณู เราทุกคนสัมผัสจุลินทรีย์อยู่ตลอดเวลา จุลินทรีย์แบ่งตามคุณลักษณะจะมีอยู่ด้วยกัน 3 ชนิดหรือ 3 จำพวก คือ

1. ชนิดที่ให้ประโยชน์หรือมีประโยชน์ โดยให้ประโยชน์ในด้านต่างๆต่อพืชและสัตว์ ย่อยขยะให้เป็นปุ๋ยก็เป็นผลงงานของจุลินทรีย์กลุ่มนี้ นมเปรี้ยว ฯลฯ

2. ชนิดที่ให้โทษหรือมีโทษ จุลินทรีย์กลุ่มนี้จะให้โทษต่อพืชและสัตว์ สร้างปัญหาต่างๆ เชื้อโรคก็จัดอยู่ในกลุ่มนี้

3. ชนิดที่เป็นกลาง จุลินทรีย์กลุ่มนี้เข้าร่วมกับกลุ่มใดก็ได้ในทั้ง 2 กลุ่มข้างต้น

จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย คืออะไร?

สำหรับจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียจะอยู่ในกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์หรือให้ประโยชน์ ซึ่งมีทั้งชนิดที่ใช้ออกซิเจนและชนิดที่ไม่ใช้ออกซิเจนในการดำรงชีพ เจริญเติบโตขยายเซลล์ รวมทั้งการทำปฏิกิริยาต่างๆ จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียจะมีคุณสมบัติในการย่อยสลายของเสียต่างๆโดยเฉพาะสารอินทรีย์ทุกๆชนิดให้มีขนาดโมเลกุลของเสียเล็กลงเรื่อยๆจนแปรเปลี่ยนสภาพและสถานะของเสียนั้นๆกลายไปเป็น  น้ำ พลังงาน และก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ตามสมการจำลองด้านล่าง น้ำเสียคือน้ำที่มีสิ่งสกปรกเจือปนและปนเปื้อน ทั้งสารอินทรีย์และสารอนินทรีย์ ในการบำบัดน้ำเสียให้เป็นน้ำดีนั้น จะมีกระบวนการบำบัดหลายวิธีหรือหลายขั้นตอน เช่น การตกตะกอน การกรองหยาบ กรองละเอียด การใช้สารเคมี การใช้จุลินทรีย์บำบัด เป็นต้น ซึ่งล้วนเป็นกระบวนการบำบัดน้ำเสียทั้งสิ้น ในการบำบัดน้ำเสียด้วยจุลินทรีย์จะเป็นกระบวนการบำบัดน้ำเสียขั้นสุดท้ายในการแปรเปลี่ยนสภาพและสถานะของเสียให้หายและกลายไปเป็น น้ำ พลังงาน และก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในที่สุด

    

 ภาพบนเป็นปฏิกิริยาการย่อยสลายของเสีย( ในน้ำเสีย )ของกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลาย( ปฏิกิริยาบำบัดน้ำเสีย )ซึ่งมีทั้งจุลินทรีย์ย่อยสลายชนิดที่ใช้ออกซิเจนและชนิดที่ไม่ใช้ออกซิเจนช่วยกันย่อยสลายของเสียต่างๆในน้ำเสีย ผลลัพธ์จากปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียจะได้ออกมาเหมือนกัน คือ น้ำ  พลังงาน และก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ปฏิกิริยานี้จะเหมือนกันกับปฏิกิริยาการเผาไหม้ที่สมบูรณ์ ผลลัพธ์ได้เหมือนกัน บรรดาของเสียต่างๆที่สลายหายไปก็คือปฏิกิริยาที่สมบูรณ์เหล่านี้ ของเสียต่างๆไม่ล้นโลกก็เป็นผลงานของกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายเป็นส่วนใหญ่ จึงได้ชื่อว่า จุลินทรีย์รักษ์โลก ช่วยรักษาสิ่งแวดล้อม ช่วยลดมลภาวะและมลพิษต่างๆในสิ่งแวดล้อมได้เป็นอย่างดี 

ทำไมต้องใช้จุลินทรีย์ในการบำบัดน้ำเสีย ?

กระบวนการบำบัดน้ำเสียมีหลายวิธีด้วยกัน ในการบำบัดน้ำเสียขั้นต้นทางกายภาพอาจทำได้ง่ายๆ เช่น การตกตะกอนของเสียชิ้นใหญ่ๆ การแยกของเสียชิ้นใหญ่ออกจากน้ำเสีย การกรองหยาบ การกรองละเอียด ไปจนถึงการใช้สารเคมีในบางกรณีที่มีสารเคมีปนเปื้อนอยู่ในน้ำเสีย เมื่อของเสียมีขนาดโมเลกุลเล็กลงเรื่อยๆจนไม่สามารถกรองหรือใช้วิธีการบำบัดอื่นๆเข้ามาช่วยบำบัดได้ จึงตกมาเป็นหน้าที่ของจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายโดยตรง นี้คือเหตุและผลของการใช้จุลินทรีย์ในการย่อยสลายของเสียในน้ำเสีย( บำบัดน้ำเสีย )เพื่อแปรเปลี่ยนสภาพและสถานะของสสาร( ของเสีย )ในน้ำเสียให้กลายไปเป็น น้ำ พลังงาน และก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในที่สุดของการย่อยสลายตามสมการจำลองด้านบน ซึ่งยังไม่มีสิ่งใดมาทดแทนหรือแทนที่จุลินทรีย์ย่อยสลายได้ในปัจจุบัน ในการบำบัดของเสียหรือทำลายของเสียต่างๆให้สลายตัวและแปรสภาพสถานะของเสียที่เป็นสสารไปเป็น น้ำ พลังงาน และก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์นั้น จะเกิดขึ้นจาก 2 ปฏิกิริยา คือ กระบวนการย่อยสลายด้วยจุลินทรีย์ย่อยสลาย และอีกปฏิกิริยาหนึ่งก็คือ ปฏิกิริยาการเผาไหม้แบบสมบูรณ์  ซึ่งทั้ง 2 ปฏิกิริยาดังกล่าวนี้จะให้ผลลัพธ์เหมือนกัน

จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียมีกี่ชนิดหรือกี่ประเภท ?

จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียมี 2 ชนิด หรือ 2 ประเภท ( แบ่งตามการดำรงชีพและการทำปฏิกิริยา ) ดังต่อไปนี้คือ

1. กลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียในน้ำเสีย( บำบัดน้ำเสีย )ชนิดที่ใช้ออกซิเจน จุลินทรีย์กลุ่มนี้จะขาดออกซิเจนไม่ได้ เพราะต้องใช้ออกซิเจนในการดำรงชีพ การเจริญเติบโต ขยายเซลล์หรือแบ่งเซลล์ ดังนั้น ในน้ำเสียต้องมีปริมาณออกซิเจนที่ละลายอยู่ในน้ำเสียมากเพียงพอต่อการนำไปใช้งานของจุลินทรีย์กลุ่มนี้ จึงเป็นที่มาของการกำหนดค่ามาตรฐานน้ำทิ้งว่า ค่าออกซิเจนที่ละลายอยู่ในน้ำเสียต้องมากกว่าหรือเท่ากับ 2 mg/l ขึ้นไป ถ้าค่าออกซิเจนที่ละลายอยู่ในน้ำเสียต่ำกว่า 2 mg/l จะส่งผลกระทบต่อความเป็นอยู่ของกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนทันที จึงต้องมีการตรวจเช็คค่าออกซิเจนในน้ำเสียอยู่เป็นประจำ( ค่า DO ) ถ้าปริมาณออกซิเจนในบ่อบำบัดลดลง( บ่อเติมอากาศ )ต้องทำการแก้ไขเพิ่มออกซิเจนลงไปในระบบทันที ก่อนที่จุลินทรีย์ย่อยสลายกลุ่มที่ใช้ออกซิเจนจะตายเกลี้ยงบ่อบำบัด ระบบบำบัดน้ำเสียส่วนใหญ่( มากกว่า 90% )จะเป็นระบบบำบัดแบบเติมอากาศลงไปในน้ำเสียหรือ ระบบ AS ( Activated  Sludge : AS )เพื่อเพิ่มออกซิเจนให้กับน้ำเสีย รวมทั้งเพิ่มออกซิเจนสำหรับกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายสำหรับนำไปใช้ในการดำรงชีพและทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียในน้ำเสีย ออกซิเจนที่ละลายอยู่ในน้ำเสียในบ่อเติมอากาศต้องมีปริมาณที่มากเพียงพอ( >= 2 mg/l ) การดึงจุลินทรีย์ย่อยสลายกลุ่มนี้จากธรรมชาติมาใช้ในงานบำบัดน้ำเสียสามารถดึงได้ง่ายกว่ากลุ่มที่ไม่ใช้ออกซิเจน( กลุ่มที่ 2 ด้านล่าง )ถึงแม้จะดึงมาใช้งานได้ง่ายก็จริง แต่ก็ดูแลและรักษาค่อนข้างจะยาก ต้องควบคุมสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสมกับความเป็นอยู่และการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์กลุ่มนี้ เช่น ค่า pH ของน้ำเสียต้องอยู่ในระหว่าง  5 - 9 ถ้าค่า pH ต่ำมากหรือสูงมากกว่านี้ จะส่งผลกระทบต่อจุลินทรีย์กลุ่มนี้ทันที และกรณีค่าออกซิเจนที่ละลายอยู่ในน้ำเสียต้องควบคุมให้ไม่ให้ต่ำกว่า 2 mg/l ขึ้นไป เป็นต้น

2. กลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียในน้ำเสีย( บำบัดน้ำเสีย )ชนิดที่ไม่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาและการดำรงชีพเจริญเติบโตขยายตัว จุลินทรีย์ย่อยสลายกลุ่มนี้ ออกซิเจนจะไม่ใช่สิ่งจำเป็นต่อไป ไม่ว่าในน้ำเสียนั้นๆจะมีออกซิเจนหรือไม่มีออกซิเจนละลายอยู่เลยก็ตาม จุลินทรีย์กลุ่มนี้ก็สามารถทำงานย่อยสลายของเสียได้ตามปกติ ไม่มีผลกระทบใดๆต่อปฏิกิริยาย่อยสลายและการดำรงชีพยังคงดำเนินต่อไป นี้คือจุดที่แตกต่างกันของจุลินทรีย์ย่อยสลายทั้งสองกลุ่ม( กลุ่มที่ใช้ออกซิเจนกับกลุ่มที่ไม่ใช้ออกซิเจน )แต่ผลลัพธ์จากปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียในน้ำเสียจะได้ผลลัพธ์เหมือนกัน คือ น้ำ พลังงาน และก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ตามปกติจุลินทรีย์สลายกลุ่มนี้มีอยู่แล้วในระบบบำบัด แต่มีปริมาณค่อนข้างน้อยเมื่อเปรียบเทียบกับปริมาณของน้ำเสียซึ่งมากกว่าหลายเท่าตัว การดึงจุลินทรีย์ย่อยสลายกลุ่มนี้จากธรรมชาติมาใช้งานก็ทำได้ยาก ไม่เหมือนกลุ่มแรกที่ดึงได้ง่ายกว่า การที่จะนำกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายกลุ่มนี้มาใช้งานจะต้องทำการรวบรวมสังเคราะห์ขึ้นในห้องปฏิบัติการ( เลี้ยงเพาะเชื้อในห้องปฏิบัติการ ) แล้วจึงจะนำมาใช้งานย่อยสลายได้เช่นเดียวกันกับกลุ่มแรก จุลินทรีย์กลุ่มนี้จะนิยมนำมาแก้ปัญหาระบบบำบัดน้ำเสียมีปัญหา หรือกรณีในระบบบำบัด( บ่อบำบัด )มีปริมาณจุลินทรีย์ย่อยสลายน้อย ค่ามาตรฐานน้ำทิ้งไม่ผ่านบ่อยๆ ถือว่าเป็นจุลินทรีย์ย่อยสลายสำเร็จรูปพร้อมใช้งานทันที โดยเฉพาะน้ำเสียที่มีปริมาณออกซิเจนต่ำ กลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนจะไม่ทำงานและมีปริมาณลดลง สามารถนำกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ไม่ใช้ออกซิเจนนี้ไปทำงานทดแทนได้ทันที จุลินทรีย์กลุ่มนี้เป็นเสมือนตัวสำรองในการแก้ปัญหาระบบบำบัด เป็นการเพิ่มและเสริมประสิทธิภาพการบำบัดน้ำเสียให้เพิ่มมากขึ้น ปฏิกิริยาการย่อยสลายของเสียเกิดมากขึ้นและเร็วขึ้น ช่วยลดภาระหนักของกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจน แก้ปัญหากลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนตายยกบ่อบำบัดได้ สามารถนำไปทดแทนได้ทันที ไม่ต้องเสียเวลามารีบูทและรันระบบบำบัดใหม่

นี้คือความแตกต่าง จุดเด่นและจุดด้อยของจุลินทรีย์ย่อยสลาย( บำบัดน้ำเสีย )ทั้งสองกลุ่มที่เป็นตัวช่วยให้ของเสียและน้ำเสียไม่ล้นโลกของเราจนถึงทุกวันนี้ ช่วยลดมลภาวะและมลพิษในสิ่งแวดล้อมในโลกของเรา จึงได้ชื่อว่าเป็น จุลินทรีย์รักษ์โลก ดังกล่าว

  จุลินทรีย์หอมคาซาม่า เป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์และมีคุณสมบัติในการย่อยสลายของเสียในน้ำเสีย( บำบัดน้ำเสีย )ชนิดที่ไม่ใช้ออกซิเจน และยังมีคุณสมบัติในการบำบัดกลิ่น( ดับกลิ่น )ไม่พึงประสงค์ทุกๆชนิดที่กลิ่นนั้นๆเกิดจากสารอินทรีย์เราได้พัฒนาให้จุลินทรีย์หอมคาซาม่ามีกลิ่นหอม เพื่อประโยชน์นำไปใช้งานบำบัดน้ำเสียและดับกลิ่น ช่วยเพิ่มและเสริมประสิทธิภาพการบำบัดน้ำเสียและระบบบำบัดน้ำเสียให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น แก้ปัญหาระบบบำบัดหรือบ่อบำบัดมีปริมาณจุลินทรีย์ย่อยสลายน้อย หรือกรณีระบบบำบัดมีปัญหาล้มเหลวบ่อยๆ ค่ามาตรฐานน้ำทิ้งไม่ผ่านเป็นบางค่าหรือหลายๆค่า เป็นต้น ที่นี่เราจะช่วยลูกค้าในการแก้ปัญหาด้วยการให้คำแนะนำและคำปรึกษาฟรีๆ กับลูกค้าของเราทุกๆท่าน ทั้งปัญหาทางเทคนิคในระบบบำบัด และปัญหาการบำบัดน้ำเสีย การแก้ปัญหาค่ามาตรฐานน้ำทิ้งบางค่าไม่ผ่านเกณฑ์แก้อย่างไร? และแก้ตรงจุดไหน? ซึ่งต้องใช้ทั้งความรู้และความเชี่ยวชาญในการแก้ปัญหาในระบบบำบัดน้ำเสียและการบำบัดน้ำเสียที่ค่อนข้างสลับซับซ้อน

เราคือผู้ผลิตและจำหน่ายจุลินทรีย์หอมคาซาม่าโดยตรง( เจ้าของโดยตรง ) จำหน่ายมามากกว่า 10 ปี มีลูกค้าประจำกระจายอยู่ทั่วประเทศ โปรดระวังของลอกเลียนแบบของเรา จุลินทรีย์หอมต้อง จุลินทรีย์หอมคาซาม่าเท่านั้น 

จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย ราคา

จุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสีย ราคา

ราคาจำหน่าย แกลลอนละ  1,200  บาท

ขนาดบรรจุ  แกลลอน  20  ลิตร ( บรรจุจริง  21.50  ลิตร )

จัดส่งฟรีทั่วประเทศ ถึงผู้รับภายใน 2-4 วันทำการขนส่ง( ขึ้นอยู่กับระยะทางใกล้-ไกล )



         

ดูแต่ละหัวข้อ กรุณาคลิกที่ลิ้งค์ด้านล่างนี้

 

การบำบัดน้ำเสีย/ระบบบำบัดน้ำเสียของคอนโดมิเนียม กดดูที่นี่..

วิธีดับกลิ่นน้ำเน่าเหม็นและน้ำเน่าเสีย คลิกดูที่นี่...  

ดับกลิ่นห้องน้ำส่งกลิ่นเหม็น คลิกดูที่นี่...

ส้วมเหม็นทำอย่างไร? แก้ไขอย่างไร ? คลิกดูที่นี่..

ดับกลิ่นบ่อส้วมเหม็น บ่อส้วมมีกลิ่น คลิกดูที่นี่...

ชักโครกส่งกลิ่นเหม็น ท่อน้ำทิ้งมีกลิ่นเหม็น บ่อเกรอะส่งกลิ่นเหม็น คลิกที่นี่..

ดับกลิ่นส้วมเหม็น/ดับกลิ่นห้องน้ำเหม็น/ดับกลิ่นบ่อส้วมเหม็น คลิกที่นี่..

ดับกลิ่นสุนัขและสัตว์เลี้ยงทุกๆชนิด คลิกดูที่นี่..
 ปัญหาบ่อเติมอากาศส่งกลิ่นเหม็นเกิดจากสาเหตุใด ? คลิกดูที่นี่..
จุลินทรีย์ดับกลิ่นรถขยะ / ดับกลิ่นรถขนขยะเหม็น คลิกดูที่นี่.. 
บำบัดน้ำเสียและการบำบัดกลิ่นในโรงงานไอศครีมทุกๆแห่ง คลิกที่นี่... 

 การแก้ปัญหาน้ำเสียและกลิ่นในโรงงานขนมจีนทุกๆแห่ง คลิกดูที่นี่..

การดูแลและบำรุงรักษา/การบริหารจัดการระบบบำบัดน้ำเสีย คลิกดูที่นี่.. 

 วิธีลดค่า BOD , SS , TDS ในโรงงานปลากระป๋อง คลิกดูที่นี่..
จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย/จุลินทรีย์ที่ใช้ในการบำบัดน้ำเสีย คลิกที่นี่...

ดับกลิ่นและบำบัดน้ำเสียในล้งปลาทุกๆแห่ง คลิกดูที่นี่.. 
จุลินทรีย์ดับกลิ่นและบำบัดน้ำเสียในโรงงานผลิตขนม คลิกที่นี่.. 
จุลินทรีย์หอมดับกลิ่นและบำบัดน้ำเสียในฟาร์มเลี้ยงหมู คลิกที่นี่..
ดับกลิ่นและบำบัดน้ำเสียในล้งปลา/โรงงานทำปลา คลิกดูที่นี่..
การกำจัดไขมันและน้ำมันแบบง่ายๆ( FOG ) คลิกดูที่นี่.. 

การบำบัดน้ำเสียของคอนโดมิเนียม คลิกดูที่นี่.. 

จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียทำงานย่อยสลายของเสียอย่างไร คลิกดูที่นี่.. 

สัญญาณจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียในบ่อบำบัดมีปริมาณน้อย คลิกดูที่นี่.. 

วิธีการกำจัดสารอินทรีย์ที่เจือปนอยู่ในน้ำเสีย คลิกดูที่นี่.. 

การบำบัดน้ำเสียโดยทั่วไป คลิกดูที่นี่.. 

การบำบัดน้ำเสียของแต่ละหน่วยงาน คลิกดูที่นี่.. 

ระบบบำบัดน้ำเสีย / การบำบัดน้ำเสีย คลิกดูที่นี่.. 

บำบัดน้ำเสีย / วิธีบำบัดน้ำเสีย คลิกดูที่นี่..

บำบัดน้ำเสีย/ระบบบำบัดน้ำเสีย คลิกดูที่นี่..

การบำบัดน้ำเสีย/การดับกลิ่นด้วยจุลินทรีย์หอมคาซาม่า  คลิกที่นี่.. 

ประโยชน์ของการใช้จุลินทรีย์หอมคาซาม่าในบ่อเกรอะบ่อส้วม  คลิกที่นี่.. 

จุลินทรีย์ 2 in 1 (จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย & จุลินทรีย์ดับกลิ่น)คลิกดูที่นี่..  

ทำไมต้องเติจุลินทรีย์ลงไปในระบบบำบัดหรือบ่อบำบัด คลิกดูที่นี่.. 

จุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสีย & จุลินทรีย์หอมดับกลิ่น คลิกดูที่นี่..

จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย ซื้อที่ไหน  คลิกที่นี่.. 

วิธีดับกลิ่นส้วมเต็ม(ส้วมเหม็น) คลิกดูที่นี่...

ดับกลิ่นคาวปลาในโรงงาน / ดับกลิ่นคาวเลือดปลา คลิกดูที่นี่..

เลี้ยงหมูแบบเกษตรอินทรีย์ชีวภาพ  คลิกดูที่นี่..

 ดับกลิ่นบ่อส้วมเหม็น( ดับกลิ่นบ่อเกรอะเหม็น ) คลิกดูที่นี่.. 

จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย  คลิกดูที่นี่...

จุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสีย คลิกดูที่นี่....       

 จุลินทรีย์ดับกลิ่น  คลิกดูข้อมูลที่นี่... 

จุลินทรีย์หอมดับกลิ่น / จุลินทรีย์หอมกำจัดกลิ่น คลิกดูข้อมูลที่นี่.... 

จุลินทรีย์หอม  คลิกดูข้อมูลที่นี่.... 

น้ำยาดับกลิ่น / น้ำยากำจัดกลิ่น ที่ไม่ใช่สารเคมี คลิกที่นี่.. 

ขายจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียที่มีกลิ่นหอม  คลิกที่นี่.. 

การบำบัดน้ำเสียและดับกลิ่นในบ่อเกรอะ  คลิกที่นี่...

วิธีการลดค่า BOD,SS,TDS ในเบื้องต้นแบบง่ายๆ คลิกที่นี่..

จุลินทรีย์ดับกลิ่นและบำบัดน้ำเสียในฟาร์มเลี้ยงหมู คลิกที่นี่..

จุลินทรีย์ดับกลิ่นขยะเหม็น  คลิกที่นี่..

จุลินทรีย์ที่ใช้ในการบำบัดน้ำเสีย คลิกดูที่นี่..

จำหน่ายจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย/ขายจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย  คลิกที่นี่.. 

em บำบัดน้ำเสีย/  em หอมบำบัดน้ำเสีย คลิกที่นี่..  

em ดับกลิ่น / em หอมดับกลิ่น คลิกที่นี่.. 

em ดับกลิ่นส้วม ดับกลิ่นบ่อส้วมเหม็น คลิกดูที่นี่..  

จุลินทรีย์ดับกลิ่นส้วมดับกลิ่นบ่อส้วมเหม็น  คลิกดูที่นี่.. 

จุลินทรีย์ดับกลิ่นห้องน้ำ คลิกดูที่นี่...  

วิธีดับกลิ่นห้องน้ำเหม็น/ห้องน้ำมีกลิ่นแรง คลิกที่นี่...

วิธีดับกลิ่นบ่อเกรอะเหม็นบ่อส้วมเหม็น  คลิกดูที่นี่..

จุลินทรีย์ดับกลิ่นบ่อเกรอะ/ดับกลิ่นห้องน้ำ/บำบัดน้ำเสีย คลิกที่นี่.. 

การบริหารจัดการบำบัดน้ำเสียโดยรวมของระบบบำบัด คลิกที่นี่...  

จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย/จุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสีย  คลิกที่นี่...

ปัญหาระบบบำบัดน้ำเสีย & ปัญหาการบำบัดน้ำเสีย  คลิกที่นี่...  

ปัญหาค่ามาตรฐานน้ำทิ้งไม่ผ่านเกณฑ์มาจากสาเหตุใด ? คลิกดูที่นี่...

ระบบบำบัดน้ำเสียของอาคารสำนักงานและอาคารชุดทั่วๆไป คลิกที่นี่...

ค่า BOD และค่า DO มีความสำคัญอย่างไรต่อระบบบำบัดน้ำเสีย ? คลิกที่นี่...

ลดค่า  BOD  ทำอย่างไร ?  อยากรู้ คลิกดูที่นี่.... 

 การบริหารจัดการบำบัดน้ำเสียในโรงงานอุตสาหกรรม คลิกดูที่นี่.. 

การบริหารจัดการบ่อบำบัดน้ำเสียและระบบบำบัดน้ำเสียของคอนโด คลิกที่นี่..

เพิ่มประสิทธิภาพบ่อบำบัดน้ำเสียและระบบบำบัดน้ำเสียทุกๆระบบ  คลิกที่นี่...   

จุลินทรีย์หอม kasama ( จุลินทรีย์หอมคาซาม่า ) คลิกที่นี่..

จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย คืออะไร ? คลิกดูข้อมูลที่นี่.... 

จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียมีความสำคัญอย่างไร ? อยากรู้คลิกดูข้อมูลที่นี่...